0:00:00.000,0:00:00.500 0:00:00.500,0:00:09.060 เราจะแปลงค่า 5 คูณ[br]รากที่สองของ 117 ได้ยังไง 0:00:09.060,0:00:13.060 117 ไม่ใช่กำลังสองสมบูรณ์ 0:00:13.060,0:00:14.990 ลองแยกตัวประกอบของ[br]จำนวนตัวเฉพาะดู 0:00:14.990,0:00:20.130 แล้วดูว่าตัวประกอบเหล่านี้มีเลข[br]ซ้ำกันหรือเปล่า 0:00:20.130,0:00:21.750 เลขตัวนี้เป็นเลขคี่ 0:00:21.750,0:00:24.140 ดังนั้นหารด้วยสองไม่ลงตัว 0:00:24.140,0:00:25.727 ดูสิว่าหารด้วย 3 ลงตัวหรือเปล่า 0:00:25.727,0:00:27.060 เราบวกตัวเลขแต่ละหลัก 0:00:27.060,0:00:29.810 วิธีนี้อธิบายในอีกวีดีโอ 0:00:29.810,0:00:31.860 ถ้าบวกตัวเลขทุกตัวก็จะได้ 9 0:00:31.860,0:00:36.225 9 หารด้วย 3 ลงตัว ดังนั้น 117 [br]หารด้วย 3 ลงตัวเช่นกัน 0:00:36.225,0:00:37.600 ลองคิดอีกแบบดู 0:00:37.600,0:00:41.340 ถ้า 117 หารด้วย 3 ก็คือ 0:00:41.340,0:00:43.700 3 มีค่าเยอะกว่า 1 0:00:43.700,0:00:46.010 แต่ว่าค่า 11 สามารถบรรจุ[br]3 ได้ 3 ครั้ง 0:00:46.010,0:00:47.670 เพราะ 3 คูณ 3 ได้ 9 0:00:47.670,0:00:50.390 ลบจาก 11 เหลือเศษ 2 0:00:50.390,0:00:53.400 ดึงตัวเลข 7 0:00:53.400,0:00:55.850 27 บรรจุ 3 ได้ 9 ครั้ง 0:00:55.850,0:00:58.087 เพราะ 9 คูณ 3 ได้ 27 0:00:58.087,0:00:59.170 ลบกัน การหารก็สำเร็จ 0:00:59.170,0:01:02.080 3 หารลงตัวพอดี 0:01:02.080,0:01:07.550 117 แยกออกเป็น 3 [br]คูณ 39 0:01:07.550,0:01:10.935 39 แยกออกเป็น ... 0:01:10.935,0:01:13.010 39 หารด้วย 3 ลงตัว 0:01:13.010,0:01:15.820 เท่ากับ 3 คูณ 13 0:01:15.820,0:01:18.320 เลขที่เหลือคือจำนวนเฉพาะ 0:01:18.320,0:01:23.580 ทั้งหมดนี้มีค่าเท่ากับ [br]5 คูณ 0:01:23.580,0:01:34.585 รากที่สองของ 3 คูณ 3 คูณ 13 0:01:34.585,0:01:37.061 0:01:37.061,0:01:39.560 ก็จะเท่ากับ 0:01:39.560,0:01:43.210 จากคุณสมบัติของ[br]เลขยกกำลัง 0:01:43.210,0:01:54.880 5 คูณรากที่สองของ 3 คูณ 3[br]คูณรากที่สองของ 13 0:01:54.880,0:01:56.744 รากที่สอง 3 คูณ 3 เท่ากับ[br]เท่าไหร่ 0:01:56.744,0:01:58.160 มันเท่ากับรากที่สองของ 9 0:01:58.160,0:01:59.730 ก็คือรากที่สองของ 3 ยกกำลัง 2 0:01:59.730,0:02:02.120 ซึ่งก็จะมีค่าเท่ากับ 3 0:02:02.120,0:02:04.590 ค่าตรงนี้ก็จะแปลงเป็น 3 0:02:04.590,0:02:10.470 ทั้งหมดนี้ก็จะกลายเป็น[br]5 คูณ 3 คูณรากที่สองของ 13 0:02:10.470,0:02:14.750 จำนวนตรงนี้คือ 15 0:02:14.750,0:02:19.850 คูณด้วยรากที่สองของ 13 0:02:19.850,0:02:21.750 เรามาลองทำอีกตัวอย่างหนึ่ง 0:02:21.750,0:02:29.896 เราจะแปลงค่า 3 คูณรากที่สอง[br]ของ 26 0:02:29.896,0:02:31.770 ผมจะเขียน 26 ด้วยสีเหลือง 0:02:31.770,0:02:35.160 คล้ายๆกับที่เราทำเมื่อช่วงที่แล้ว 0:02:35.160,0:02:37.442 26 เป็นเลขคู่ 0:02:37.442,0:02:38.900 มันก็จะหารด้วย 2 ลงตัว 0:02:38.900,0:02:41.917 มีค่าเท่ากับ 2 คูณ 13 0:02:41.917,0:02:42.750 ก็เสร็จแล้ว 0:02:42.750,0:02:43.820 13 เป็นจำนวนเฉพาะ 0:02:43.820,0:02:45.860 เราแยกตัวประกอบต่อไม่ได้ 0:02:45.860,0:02:48.204 26 ไม่มีเลขกำลังสมบูรณ์ 0:02:48.204,0:02:49.620 เราไม่อาจจะแยกตัวประกอบ 0:02:49.620,0:02:50.970 ที่เป็นผลคูณของตัวเลขกับ 0:02:50.970,0:02:52.720 เลขกำลังสมบูรณ์เหมือนช่วงที่แล้ว 0:02:52.720,0:02:55.430 117 คือ 13 คูณ 9 0:02:55.430,0:02:58.740 มันเป็นผลคูณของเลขกำลังสมบูรณ์[br]กับ 13 0:02:58.740,0:03:01.645 แต่ว่า 26 แปลงค่าได้มากที่สุดเท่านี้เอง 0:03:01.645,0:03:08.138 ค่าที่ได้คือ 3 คูณ รากที่สองของ 26 0:03:08.138,0:03:08.638