WEBVTT 00:00:15.555 --> 00:00:18.688 ผู้คนมักคิดว่าคำว่า "doubt" สะกดประหลาด 00:00:18.688 --> 00:00:20.607 เพราะตัว "b" 00:00:20.607 --> 00:00:22.234 ไม่ออกเสียงเป็นตัวสะกด 00:00:22.234 --> 00:00:25.440 คนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจว่า มันมาทำอะไรอยู่ตรงนั้น 00:00:25.440 --> 00:00:27.780 แต่แทนที่จะสนใจเรื่องนั้น สิ่งที่เราได้เรียนในโรงเรียน กลับบอกว่า 00:00:27.780 --> 00:00:30.268 เสียง ไม่ใช่ สิ่งที่สำคัญที่สุด 00:00:30.268 --> 00:00:32.414 ในการสะกดคำภาษาอังกฤษ 00:00:32.414 --> 00:00:35.695 เพราะความหมาย และ ประวัติ ของคำนั้นๆ เป็นเรื่องสำคัญกว่า 00:00:35.695 --> 00:00:37.729 การสงสัย คือ การตั้งคำถาม 00:00:37.729 --> 00:00:38.739 การโอนเอน 00:00:38.739 --> 00:00:40.202 การลังเล 00:00:40.202 --> 00:00:43.780 เมื่อเป็นคำนาม มันหมายถึงความลังเล หรือ ความสับสน 00:00:43.780 --> 00:00:46.146 คำว่า "doubt" ในภาษาอังกฤษทุกวันนี้ 00:00:46.146 --> 00:00:49.786 เกิดมาจากคำภาษาละติน "dubitare" 00:00:49.786 --> 00:00:52.211 มันเริ่มเดินทางจากภาษาละติน ไปฝรั่งเศษ 00:00:52.211 --> 00:00:56.471 ที่ซึ่งมันเสียทั้งเสียง "buh" และ ตัวอักษร "b" 00:00:56.471 --> 00:00:59.421 แล้วมันก็ย้ายเข้ามาในภาษาอังกฤษ ในช่วงศตวรรษที่ 13 00:00:59.421 --> 00:01:01.347 ประมาณ 100 ปีต่อมา 00:01:01.347 --> 00:01:05.459 อาลักษณ์ที่รู้ภาษาละตินด้วย 00:01:05.459 --> 00:01:09.466 ก็เริ่มใส่ตัว "b" กลับเข้าไปในตัวสะกดของคำนี้ 00:01:09.466 --> 00:01:12.501 ถึงแม้ว่าจะไม่มีใครออกเสียงมันอย่างนั้นก็ตาม 00:01:12.501 --> 00:01:14.186 แต่ พวกเขาทำอย่างนั้นทำไม 00:01:14.186 --> 00:01:16.080 ทำไม พวกเขา (ถ้ายังสติดีอยู่) 00:01:16.080 --> 00:01:19.151 จึงใส่ตัวอักษรที่ไม่ออกเสียง เข้่าไปในตัวสะกด? 00:01:19.151 --> 00:01:21.178 ก็เพราะ พวกเขารู้ภาษาละติน 00:01:21.178 --> 00:01:26.532 และอาลักษณ์เหล่านั้นก็เข้าใจว่า รากศัพท์ของคำว่า "doubt" นั้นมีตัวอักษร "b" อยู่ด้วย 00:01:26.532 --> 00:01:30.189 เมื่อเวลาผ่านไป และคนที่รู้ภาษาละตินมีจำนวนน้อยลง 00:01:30.189 --> 00:01:32.756 ตัวอักษร "b" ยังถูกเก็บไว้ เพราะมันแสดงถึง 00:01:32.756 --> 00:01:35.339 ความเชื่อมโยงระหว่างคำนี้ กับคำอื่นๆ 00:01:35.339 --> 00:01:38.158 เช่น "dubious" (สงสัย ในรูปวิเศษณ์) และ "indubitalbly" (อย่างไม่ต้องสงสัย) 00:01:38.158 --> 00:01:40.372 ซึ่งก็ถูกยืมเข้ามาในภาษาอังกฤษ 00:01:40.372 --> 00:01:43.802 จากรากศัพท์ละติน คำว่า "dubitare" เช่นกัน 00:01:43.802 --> 00:01:46.098 การเข้าใจที่มาไป ที่เชื่อมโยงกันเหล่านี้ 00:01:46.098 --> 00:01:48.399 ไม่เพียงช่วยให้เราสะกดคำว่า "doubt" ได้ 00:01:48.399 --> 00:01:50.403 แต่ยังช่วยให้เราเข้าใจความหมาย 00:01:50.403 --> 00:01:53.068 ของคำที่ซับซ้อนเหล่านี้ 00:01:53.068 --> 00:01:55.197 แต่เรื่องก็ยังไม่จบแค่นั้น 00:01:55.197 --> 00:01:56.431 ถ้าเราดูลงไปในรายละเอียด 00:01:56.431 --> 00:01:59.462 เราจะสามารถมองเลยไป นอกเหนือจากความสงสัยที่เรามี 00:01:59.462 --> 00:02:02.782 ทำให้เรารู้ว่า แค่ตัว "b" ตัวนี้ บอกอะไรเราได้อีก 00:02:02.782 --> 00:02:05.508 มีรากศัพท์เพียงสองคำเท่านั้นในภาษาอังกฤษ 00:02:05.508 --> 00:02:08.795 ที่สะกดด้วยตัวอักษร "d-o-u-b" 00:02:08.795 --> 00:02:10.574 คำแรกคือคำว่า doubt 00:02:10.574 --> 00:02:12.528 ส่วนอีกคำคือคำว่า double 00:02:12.528 --> 00:02:14.372 เราสร้างคำอื่นๆได้อีกมากมาย 00:02:14.372 --> 00:02:16.020 จากรากศัพท์สองคำนี้ 00:02:16.020 --> 00:02:16.990 เช่น doubtful (เคลือบแคลง) 00:02:16.990 --> 00:02:18.344 และ doubtless (สิ้นสงสัย) 00:02:18.344 --> 00:02:19.513 หรือ doublet (สิ่งที่เป็นคู่) 00:02:19.513 --> 00:02:20.564 และ redouble (เพิ่มเป็นทวีคูณ) 00:02:20.564 --> 00:02:22.066 และ doubloon (เหรียญทอง) 00:02:22.066 --> 00:02:24.508 กลายเป็นว่า เมื่อเรามองดูประวัติของมัน 00:02:24.508 --> 00:02:26.807 เราจะเห็นว่ารากศัพท์ทั้งสองคำนั้น 00:02:26.807 --> 00:02:29.287 มาจากรากศัพท์ละตินคำเดียวกัน 00:02:29.287 --> 00:02:31.260 ที่มีความหมายว่า ซ้ำเป็นสอง 00:02:31.260 --> 00:02:32.133 เลขสอง 00:02:32.133 --> 00:02:35.778 สะท้อนความหมายอยู่ใน ความสงสัย 00:02:35.778 --> 00:02:37.319 เพราะ เมื่อเราสงสัย 00:02:37.319 --> 00:02:38.831 เมื่อเราลังเลใจ 00:02:38.831 --> 00:02:41.497 เรามีความคิดครั้งที่สอง กับตัวเอง 00:02:41.497 --> 00:02:43.675 เมื่อเราสงสัยเกี่ยวกับอะไรบางอย่าง 00:02:43.675 --> 00:02:46.129 เมื่อเรามีคำถาม หรือ เกิดสับสน 00:02:46.129 --> 00:02:48.876 เรากำลัง สองจิตสองใจ 00:02:48.876 --> 00:02:51.544 ในเชิงประวัติศาสตร์ ก่อนที่จะมีภาษาอังกฤษ 00:02:51.544 --> 00:02:53.234 ที่ยืมคำนี้มาจากภาษาฝรั่งเศษ 00:02:53.234 --> 00:02:55.506 ภาษาเดิมนั้นมีคำที่มีความหมายว่า สงสัย อยู่แล้ว 00:02:55.506 --> 00:02:59.152 คำภาษาอังกฤษโบรารณว่า "tweogan" แปลว่า สงสัย 00:02:59.152 --> 00:03:01.585 ก็แสดงความเชื่อมโยงกับคำว่า "two" 00:03:01.585 --> 00:03:05.288 ไว้อย่างชัดเจนในตัวสะกดของมันเช่นกัน 00:03:05.288 --> 00:03:06.758 ดังนั้น ครั้งต่อไปเวลาที่คุณลังเลสงสัย 00:03:06.758 --> 00:03:09.457 ว่าทำไมคำภาษาอังกฤษบางคำ ถึงสะกดอย่างนั้น 00:03:09.457 --> 00:03:11.412 ลองดูมันซ้ำอีกครั้ง 00:03:11.412 --> 00:03:16.170 สิ่งที่คุณพบ อาจทำให้คุณต้องมองซ้ำอีกครั้งก็เป็นได้