1 00:00:00,000 --> 00:00:00,551 2 00:00:00,551 --> 00:00:02,050 สิ่งที่เราจะพยายามทำ 3 00:00:02,050 --> 00:00:05,570 คือหาค่าผลบวกนี่ตรงนี้ 4 00:00:05,570 --> 00:00:08,109 หาค่าอนุกรมนี้ คือลบ 2 5 00:00:08,109 --> 00:00:11,660 ส่วน n บวก 1 คูณ n บวก 2 เริ่มที่ n เท่ากับ 2 6 00:00:11,660 --> 00:00:13,750 ไปจนถึงอนันต์ 7 00:00:13,750 --> 00:00:16,850 และถ้าเราอยากหาว่ามันเป็นอย่างไร มันเริ่มที่ n 8 00:00:16,850 --> 00:00:17,400 เท่ากับ 2 9 00:00:17,400 --> 00:00:20,430 เมื่อ n เท่ากับ 2 นี่คือลบ 2 ส่วน 2 10 00:00:20,430 --> 00:00:24,370 บวก 1 ซึ่งก็คือ 3 คูณ 2 บวก 2 ซึ่งก็คือ 4 11 00:00:24,370 --> 00:00:28,940 แล้วเมื่อ n เท่ากับ 3 นี่คือลบ 2 ส่วน 3 12 00:00:28,940 --> 00:00:32,560 บวก 1 ซึ่งก็คือ 4, คูณ 3 บวก 2 ซึ่งก็คือ 5 13 00:00:32,560 --> 00:00:34,820 และมันยาวต่อไปแบบนั้น ลบ 2 14 00:00:34,820 --> 00:00:37,670 ส่วน 5 คูณ 6 15 00:00:37,670 --> 00:00:40,620 และมันยาวต่อไปเรื่อยๆ 16 00:00:40,620 --> 00:00:43,880 ตอนนี้ เห็นได้ชัดว่าเทอมถัดไปแต่ละเทอม 17 00:00:43,880 --> 00:00:45,620 จะเล็กลงเรื่อยๆ 18 00:00:45,620 --> 00:00:47,680 และมันจะเล็กลงเร็วทีเดียว 19 00:00:47,680 --> 00:00:51,814 มันพอจะสมมุติได้ว่า ถึงแม้คุณจะ 20 00:00:51,814 --> 00:00:53,480 มีจำนวนเทอมเป็นอนันต์ 21 00:00:53,480 --> 00:00:54,842 มันอาจให้ค่าจำกัดได้ 22 00:00:54,842 --> 00:00:56,800 แต่ผมไม่เห็นได้ในทันที อย่างน้อยตาม 23 00:00:56,800 --> 00:00:58,470 ที่ผมเห็นอยู่ตอนนี้ 24 00:00:58,470 --> 00:00:59,970 ว่าผลบวกนี้จะเป็นเท่าใด หรือเรา 25 00:00:59,970 --> 00:01:02,120 จะหาผลบวกนั้นอย่างไร 26 00:01:02,120 --> 00:01:04,269 สิ่งที่ผมอยากให้คุณทำตอนนี้ คือหยุดวิดีโอนี้ 27 00:01:04,269 --> 00:01:07,630 และผมจะให้คำใบ้ว่าเราคิดปัญหานี้อย่างไร 28 00:01:07,630 --> 00:01:12,170 พยายามนึกเรื่องการกระจายเศษส่วนย่อย 29 00:01:12,170 --> 00:01:14,160 หรือการกระจายเศษส่วนย่อย 30 00:01:14,160 --> 00:01:17,920 เพื่อเปลี่ยนพจน์นี้เป็น ผลบวกของเศษส่วนสองตัว 31 00:01:17,920 --> 00:01:22,280 และมันอาจช่วยเราคิดว่าผลบวกเป็นเท่าใด 32 00:01:22,280 --> 00:01:24,337 ผมถือว่าคุณได้ลองแล้วนะ 33 00:01:24,337 --> 00:01:25,920 ลองพยายามจัดการเทอมนี้ 34 00:01:25,920 --> 00:01:28,840 ลองดูว่าเราเขียนอันนี้ใหม่ เป็นผลบวกของเศษส่วนสองตัวได้ไหม 35 00:01:28,840 --> 00:01:32,870 นี่คือลบ 2 ส่วน -- ผมจะ 36 00:01:32,870 --> 00:01:35,990 ใช้สองสีต่างกันนะ -- n บวก 1 37 00:01:35,990 --> 00:01:37,650 คูณ n บวก 2 38 00:01:37,650 --> 00:01:40,160 39 00:01:40,160 --> 00:01:42,870 และเราจำได้จากการกระจายเศษส่วนย่อย 40 00:01:42,870 --> 00:01:45,710 ว่าเราเขียนอันนี้ได้เป็น ผลบวกของเศษส่วนสองตัว 41 00:01:45,710 --> 00:01:54,846 เป็น A ส่วน n บวก 1 บวก B ส่วน n บวก 2 42 00:01:54,846 --> 00:01:55,970 และทำไมมันถึงสมเหตุสมผล? 43 00:01:55,970 --> 00:01:57,090 ถ้าคุณบวกเศษส่วนสองตัว 44 00:01:57,090 --> 00:01:58,620 คุณอยากหาตัวส่วนร่วม ซึ่ง 45 00:01:58,620 --> 00:02:00,650 ก็คือพหุคูณของตัวส่วนสองตัว 46 00:02:00,650 --> 00:02:03,300 อันนี้เป็นพหุคูณของตัวส่วนทั้งคู่แน่นอน 47 00:02:03,300 --> 00:02:05,660 และเราเรียนในเรื่องการกระจายเศษส่วนย่อย 48 00:02:05,660 --> 00:02:08,919 ว่า อะไรก็ตามที่เรามีบนนี้ ยิ่งดีกรี 49 00:02:08,919 --> 00:02:13,020 ตรงนี้น้อยกว่าดีกรีข้างล่างนี้ ตัวข้างบน 50 00:02:13,020 --> 00:02:15,890 จะมีดีกรีน้อยกว่าที่เรามีตรงนี้ 51 00:02:15,890 --> 00:02:18,000 นี่ก็คือเทอมดีกรีหนึ่งในรูปของ n 52 00:02:18,000 --> 00:02:20,850 พวกนี้จึงเป็นค่าคงที่บนนี้ 53 00:02:20,850 --> 00:02:22,740 ลองหากันว่า A กับ B คืออะไร 54 00:02:22,740 --> 00:02:25,580 ถ้าเราทำการบวก -- 55 00:02:25,580 --> 00:02:27,590 ลองเขียนทั้งคู่ใหม่ 56 00:02:27,590 --> 00:02:29,400 ด้วยตัวส่วนร่วมเดียวกัน 57 00:02:29,400 --> 00:02:34,190 ลองเขียน A ส่วน n บวก 1 ใหม่ 58 00:02:34,190 --> 00:02:37,720 ลองคูณตัวเศษและตัวส่วนด้วย n บวก 2 59 00:02:37,720 --> 00:02:41,570 เราคูณตัวเศษด้วย n บวก 2 และตัวส่วน 60 00:02:41,570 --> 00:02:42,100 ด้วย n บวก 2 61 00:02:42,100 --> 00:02:44,490 ผมไม่ได้เปลี่ยนค่าเศษส่วนแรกนี้ 62 00:02:44,490 --> 00:02:50,850 เช่นเดียวกัน ลองทำแบบเดียวกัน กับ B ส่วน n บวก 2 63 00:02:50,850 --> 00:02:54,470 คูณตัวเศษและตัวส่วนด้วย n บวก 1 64 00:02:54,470 --> 00:02:57,960 n บวก 1 ส่วน n บวก 1 65 00:02:57,960 --> 00:03:01,276 เหมือนเดิม ผมไม่ได้เปลี่ยนค่าเศษส่วนนี้ 66 00:03:01,276 --> 00:03:03,400 แต่เมื่อทำอย่างนี้ ผมจะได้ตัวส่วนร่วม 67 00:03:03,400 --> 00:03:04,570 และผมบวกได้ 68 00:03:04,570 --> 00:03:12,714 นี่จึงเท่ากับ n บวก 1 คูณ n บวก 2 69 00:03:12,714 --> 00:03:13,380 เป็นตัวส่วนของเรา 70 00:03:13,380 --> 00:03:15,920 71 00:03:15,920 --> 00:03:19,690 แล้วตัวเศษ -- ขอผมแจกแจงมันออกมา 72 00:03:19,690 --> 00:03:21,690 อันนี้จะเท่ากับ ถ้าผมแจกแจง A 73 00:03:21,690 --> 00:03:25,290 มันคือ An บวก 2A 74 00:03:25,290 --> 00:03:31,730 ขอผมเขียนนะ An บวก 2A 75 00:03:31,730 --> 00:03:40,680 แล้วกระจาย B นี้ บวก Bn บวก B 76 00:03:40,680 --> 00:03:42,680 ทีนี้ สิ่งที่ผมอยากทำ คือผมอยากเขียนตัวนี้ใหม่ 77 00:03:42,680 --> 00:03:44,330 เราจะได้มีเทอม n ทั้งหมด 78 00:03:44,330 --> 00:03:51,070 ตัวอย่างเช่น An บวก Bn -- ผมแยก n ออกมาได้ 79 00:03:51,070 --> 00:03:58,730 และผมเขียนมันใหม่ได้เป็น A บวก B คูณ n 80 00:03:58,730 --> 00:04:00,350 สองเทอมนั่นตรงนั้น 81 00:04:00,350 --> 00:04:03,895 แล้วสองเทอมนี้ 2A บวก B 82 00:04:03,895 --> 00:04:09,080 ผมเขียนมันได้แบบนี้ บวก 2A บวก B 83 00:04:09,080 --> 00:04:17,550 แน่นอน ทั้งหมดนี้คือส่วน n บวก 1 คูณ n บวก 2 84 00:04:17,550 --> 00:04:20,915 85 00:04:20,915 --> 00:04:24,020 เราจะแก้หา A กับ B ได้อย่างไร? 86 00:04:24,020 --> 00:04:26,650 ข้อสังเกตคือว่า ตัวนี้ 87 00:04:26,650 --> 00:04:29,070 ต้องเท่ากับลบ 2 88 00:04:29,070 --> 00:04:31,879 สองตัวนี้ต้องเท่ากัน 89 00:04:31,879 --> 00:04:33,670 นึกดู เรากำลังอ้างว่าตัวนี้ 90 00:04:33,670 --> 00:04:36,160 ซึ่งเท่ากับตัวนี้ เท่ากับค่านี้ 91 00:04:36,160 --> 00:04:38,754 นั่นคือสาเหตุที่เราเริ่มทำอย่างนี้ 92 00:04:38,754 --> 00:04:40,420 เรากำลังอ้างว่า สองตัวนี้ 93 00:04:40,420 --> 00:04:42,680 เทียบเท่ากัน 94 00:04:42,680 --> 00:04:44,470 เรากำลังอ้างอยู่ 95 00:04:44,470 --> 00:04:47,560 ทุกอย่างในตัวเศษต้องเท่ากับลบ 2 96 00:04:47,560 --> 00:04:48,710 แล้วเราทำอะไรได้? 97 00:04:48,710 --> 00:04:52,130 ดูเหมือนว่าเรามีตัวแปรไม่ทราบค่าสองตัวตรงนี้ 98 00:04:52,130 --> 00:04:54,930 เวลาหาตัวไม่ทราบค่าสองตัว เราต้องการสองสมการ 99 00:04:54,930 --> 00:04:56,990 ข้อสังเกตตรงนี้คือว่า ดูสิ 100 00:04:56,990 --> 00:05:00,030 เรามีเทอม n ทางซ้ายมือตรงนี้ 101 00:05:00,030 --> 00:05:01,520 เราไม่มีเทอม n ตรงนี้ 102 00:05:01,520 --> 00:05:03,950 คุณก็มองอันนี้ แทนที่จะมอง 103 00:05:03,950 --> 00:05:05,366 เป็นลบ 2 คุณก็มอง 104 00:05:05,366 --> 00:05:10,960 ตัวนี้เป็นลบ 2 บวก 0n, บวก 0 คูณ n 105 00:05:10,960 --> 00:05:11,740 มันไม่ใช่คำว่า on นะ 106 00:05:11,740 --> 00:05:17,599 นั่นคือ 0 -- ขอผมเขียนแบบนี้ -- 0 คูณ n 107 00:05:17,599 --> 00:05:19,140 เมื่อคุณมองแบบนี้ มัน 108 00:05:19,140 --> 00:05:22,430 เห็นได้ชัดว่า A บวก B เป็นสัมประสิทธิ์ของ n 109 00:05:22,430 --> 00:05:24,700 มันต้องเท่ากับ 0 110 00:05:24,700 --> 00:05:28,340 A บวก B ต้องเท่ากับ 0 111 00:05:28,340 --> 00:05:30,810 และนี่คือเป็นการกระจายเศษส่วนย่อย 112 00:05:30,810 --> 00:05:32,180 ที่จำเป็น 113 00:05:32,180 --> 00:05:34,530 เรามีวิดีโออีกถ้าคุณอยากทบทวนเรื่องนั้น 114 00:05:34,530 --> 00:05:43,010 และส่วนค่าคงที่ 2A บวก B เท่ากับลบ 2 115 00:05:43,010 --> 00:05:46,100 116 00:05:46,100 --> 00:05:51,020 แล้วตอนนี้เรามีสองสมการ สองตัวแปร 117 00:05:51,020 --> 00:05:53,020 และเราแก้มันได้หลายวิธี 118 00:05:53,020 --> 00:05:55,450 แต่วิธีที่น่าสนใจอันหนึ่งคือว่า ลองคูณสมการบน 119 00:05:55,450 --> 00:05:56,930 ด้วยลบ 1 กัน 120 00:05:56,930 --> 00:06:01,090 แล้วอันนี้กลายเป็นลบ A ลบ B เท่ากับ -- 121 00:06:01,090 --> 00:06:03,360 ลบ 1 คูณ 0 จะยังเป็น 0 122 00:06:03,360 --> 00:06:05,600 ตอนนี้เราบวกสองตัวนี้เข้าด้วยกันได้ 123 00:06:05,600 --> 00:06:11,110 แล้วเราเหลือ 2A ลบ A ได้ A, บวก B ลบ B -- 124 00:06:11,110 --> 00:06:13,830 พวกมันตัดกัน 125 00:06:13,830 --> 00:06:16,320 A เท่ากับลบ 2 126 00:06:16,320 --> 00:06:20,120 และถ้า A เท่ากับลบ 2, A บวก B เท่ากับ 0 127 00:06:20,120 --> 00:06:21,520 B ต้องเท่ากับ 2 128 00:06:21,520 --> 00:06:24,090 129 00:06:24,090 --> 00:06:28,000 ลบ 2 บวก 2 เท่ากับ 0 130 00:06:28,000 --> 00:06:31,100 เราแก้หา A ได้ แล้วผมแทนมันกลับไปตรงนี้ 131 00:06:31,100 --> 00:06:34,860 ตอนนี้เราเขียนทั้งหมดนี้ใหม่ตรงนี้ได้ 132 00:06:34,860 --> 00:06:37,830 เราเขียนมันใหม่ได้เป็นผลบวก -- ที่จริง 133 00:06:37,830 --> 00:06:39,200 ขอผมแก้สักหน่อย 134 00:06:39,200 --> 00:06:43,020 ขอผมเขียนมันเป็นผลบวกจำกัด แทนที่จะเป็น 135 00:06:43,020 --> 00:06:44,200 ผลบวกอนันต์ 136 00:06:44,200 --> 00:06:47,450 แล้วเราค่อยหาลิมิตเมื่อเราไปหาอนันต์ 137 00:06:47,450 --> 00:06:49,190 ขอผมเขียนมันใหม่แบบนี้ 138 00:06:49,190 --> 00:06:53,700 นี่คือผลบวกจาก n เท่ากับ 2 -- แทนที่จะเป็นอนันต์ 139 00:06:53,700 --> 00:06:56,540 ผมจะบอกว่า N ใหญ่ แล้วต่อไป เรา 140 00:06:56,540 --> 00:07:00,750 จะหาลิมิตเมื่อค่านี้ไปหาอนันต์ -- 141 00:07:00,750 --> 00:07:03,850 แทนที่จะเขียนอย่างนี้ ผมก็เขียนตัวนี้ได้ 142 00:07:03,850 --> 00:07:06,370 A คือลบ 2 143 00:07:06,370 --> 00:07:11,110 มันคือลบ 2 ส่วน n บวก 1 144 00:07:11,110 --> 00:07:17,820 แล้ว B คือ 2, บวก B ส่วน n บวก 2 145 00:07:17,820 --> 00:07:20,610 ย้ำอีกครั้ง ผมเขียนพจน์นี้เป็นผลบวกจำกัด 146 00:07:20,610 --> 00:07:23,210 ต่อไป เราจะหาลิมิตเมื่อ N ใหญ่เข้าหา 147 00:07:23,210 --> 00:07:25,020 อนันต์ เพื่อหาว่าตัวนี้เป็นเท่าใด 148 00:07:25,020 --> 00:07:27,870 โทษที และ B -- ผมไม่เขียน B แล้ว 149 00:07:27,870 --> 00:07:33,450 เรารู้ว่า B คือ 2 ส่วน n บวก 2 150 00:07:33,450 --> 00:07:37,850 ทีนี้ มันช่วยเราได้อย่างไร? 151 00:07:37,850 --> 00:07:39,330 ลองทำสิ่งที่เราทำบนนี้ 152 00:07:39,330 --> 00:07:42,260 ลองเขียนออกมาว่าตัวนี้เท่ากับอะไร 153 00:07:42,260 --> 00:07:46,900 อันนี้จะเท่ากับ -- เมื่อ n เป็น 2 154 00:07:46,900 --> 00:07:54,410 นี่คือลบ 2/3 มันก็คือลบ 2/3, บวก 2/4 155 00:07:54,410 --> 00:08:00,160 156 00:08:00,160 --> 00:08:02,810 นั่นคือ n เท่ากับ -- ขอผมทำข้างล่างนี้ เพราะผม 157 00:08:02,810 --> 00:08:04,400 ไม่มีที่แล้ว 158 00:08:04,400 --> 00:08:06,640 นั่นคือเมื่อ n เท่ากับ 2 159 00:08:06,640 --> 00:08:10,120 ทีนี้ เมื่อ n เท่ากับ 3 ล่ะ? 160 00:08:10,120 --> 00:08:21,920 เมื่อ n เท่ากับ 3 อันนี้จะเท่ากับลบ 2/4 161 00:08:21,920 --> 00:08:22,610 บวก 2/5 162 00:08:22,610 --> 00:08:28,770 163 00:08:28,770 --> 00:08:30,530 แล้วเมื่อ n เท่ากับ 4 ล่ะ? 164 00:08:30,530 --> 00:08:33,890 ผมว่าคุณคงเห็นรูปแบบสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว 165 00:08:33,890 --> 00:08:34,640 ลองทำอีกตัวกัน 166 00:08:34,640 --> 00:08:42,090 เมื่อ n เท่ากับ 4 ตัวนี้ 167 00:08:42,090 --> 00:08:46,710 จะเท่ากับลบ 2/5 -- ขอ 168 00:08:46,710 --> 00:08:53,170 ผมใช้สีฟ้าเดิมนะ -- ลบ 2/5 บวก 2/6 169 00:08:53,170 --> 00:08:57,640 170 00:08:57,640 --> 00:09:00,460 และเราจะทำต่อไป 171 00:09:00,460 --> 00:09:02,520 ขอผมเลื่อนลงหาที่เพิ่ม -- เรา 172 00:09:02,520 --> 00:09:05,190 จะทำต่อไปจนถึงเทอมที่ N 173 00:09:05,190 --> 00:09:08,960 174 00:09:08,960 --> 00:09:13,680 บวก จุดจุดจุดเทอม N ใหญ่ 175 00:09:13,680 --> 00:09:24,110 ซึ่งจะเป็นลบ 2 ส่วน N ใหญ่บวก 1, บวก 2 176 00:09:24,110 --> 00:09:27,560 ส่วน N ใหญ่บวก 2 177 00:09:27,560 --> 00:09:29,310 ผมว่าคุณคิดเห็นรูปแบบตรงนี้แล้ว 178 00:09:29,310 --> 00:09:33,466 สังเกตว่า จากตอนแรกเมื่อ n เท่ากับ 2 เราได้ 2/4 179 00:09:33,466 --> 00:09:35,590 แต่แล้วเมื่อ n เท่ากับ 3 คุณจะได้ลบ 2/4 180 00:09:35,590 --> 00:09:37,450 อันนั้นตัดกับอันนั้น 181 00:09:37,450 --> 00:09:39,090 เมื่อ n เท่ากับ 3 คุณจะได้ 2/5 182 00:09:39,090 --> 00:09:42,690 แล้วพวกมันหักล้างกันเมื่อ n เท่ากับ 4 กับลบ 2/5 183 00:09:42,690 --> 00:09:47,170 เทอมที่สองหักล้าง -- ส่วนที่สอง 184 00:09:47,170 --> 00:09:50,380 สำหรับ n แต่ละตัว สำหรับแต่ละเทอม 185 00:09:50,380 --> 00:09:53,040 จะตัดกับส่วนแรกของเลขเทอมต่อไป 186 00:09:53,040 --> 00:09:55,420 และมันจะเกิดขึ้นไปเรื่อยๆ จนถึง 187 00:09:55,420 --> 00:09:59,730 n เท่ากับ N ใหญ่ 188 00:09:59,730 --> 00:10:02,300 แล้วอันนี้จะตัดกับตัวก่อน 189 00:10:02,300 --> 00:10:03,110 หน้ามัน 190 00:10:03,110 --> 00:10:06,540 แล้วเราจะเหลือ 191 00:10:06,540 --> 00:10:13,790 แค่เทอมนี้กับเทอมนี่ตรงนี้ 192 00:10:13,790 --> 00:10:15,950 ลองเขียนมันใหม่นะ 193 00:10:15,950 --> 00:10:19,090 เราได้ -- ลองหาที่เพิ่มตรงนี้ 194 00:10:19,090 --> 00:10:26,290 สิ่งนี้เขียนใหม่ได้เป็นผลบวกจาก n เล็ก 195 00:10:26,290 --> 00:10:30,850 เท่ากับ 2 ถึง N ใหญ่ของลบ 2 196 00:10:30,850 --> 00:10:37,020 ส่วน n บวก 1 บวก 2 ส่วน n บวก 2 197 00:10:37,020 --> 00:10:39,440 เท่ากับ -- อย่างอื่นตรงกลางหักล้างหมด 198 00:10:39,440 --> 00:10:39,940 199 00:10:39,940 --> 00:10:43,740 เราเหลือแค่ลบ 2/3 200 00:10:43,740 --> 00:10:50,460 บวก 2 ส่วน N ใหญ่บวก 2 201 00:10:50,460 --> 00:10:53,110 นี่คือการลดรูปอย่างใหญ่หลวง 202 00:10:53,110 --> 00:10:57,000 นึกดู ผลบวกเดิมที่เราอยากคำนวณ 203 00:10:57,000 --> 00:11:00,510 ก็แค่ลิมิตเมื่อ N ใหญ่เข้าหาอนันต์ 204 00:11:00,510 --> 00:11:04,620 ลองหาลิมิตเมื่อ N ใหญ่ไปหาอนันต์ 205 00:11:04,620 --> 00:11:06,170 ขอผมเขียนมันแบบนี้นะ 206 00:11:06,170 --> 00:11:07,878 ที่จริง ขอผมเขียนมันแบบนี้นะ 207 00:11:07,878 --> 00:11:10,810 ลิมิต -- เราเขียนมันแบบนี้ได้ 208 00:11:10,810 --> 00:11:15,350 ลิมิตเมื่อ N ใหญ่เข้าใกล้ 209 00:11:15,350 --> 00:11:20,030 อนันต์จะเท่ากับลิมิตเมื่อ N ใหญ่ 210 00:11:20,030 --> 00:11:22,239 เข้าหาอนันต์ของ -- เราแค่ 211 00:11:22,239 --> 00:11:23,280 หาว่าตัวนี้คืออะไร 212 00:11:23,280 --> 00:11:33,240 นี่คือลบ 2/3 บวก 2 ส่วน N ใหญ่บวก 2 213 00:11:33,240 --> 00:11:36,180 เมื่อ n เข้าหาอนันต์ ลบ 2/3 นี้ 214 00:11:36,180 --> 00:11:37,600 มันไม่มีผลเลย 215 00:11:37,600 --> 00:11:40,375 เทอมนี่ตรงนี้ 2 ส่วนเทอมที่ใหญ่ขึ้น 216 00:11:40,375 --> 00:11:42,000 ส่วนจำนวนที่โตมาก -- 217 00:11:42,000 --> 00:11:43,520 มันจะเข้าหา 0 218 00:11:43,520 --> 00:11:47,990 และเราจะเหลือลบ 2/3 219 00:11:47,990 --> 00:11:48,750 เราก็เสร็จแล้ว 220 00:11:48,750 --> 00:11:54,740 เราหาผลบวกของอนุกรมอนันต์นี้ได้แล้ว 221 00:11:54,740 --> 00:11:58,460 ตัวนี้ตรงนี้จะเท่ากับลบ 2/3 222 00:11:58,460 --> 00:12:01,320 และอนุกรมแบบนี้เรียกว่า telescoping series 223 00:12:01,320 --> 00:12:02,920 telescoping 224 00:12:02,920 --> 00:12:04,380 นี่คือ telescoping series 225 00:12:04,380 --> 00:12:09,270 226 00:12:09,270 --> 00:12:12,130 telescoping series เป็นคำทั่วไป 227 00:12:12,130 --> 00:12:14,500 ถ้าคุณหาผลบวกย่อย 228 00:12:14,500 --> 00:12:18,430 มันจะมีรูปแบบอย่างนี้ โดยแต่ละเทอม 229 00:12:18,430 --> 00:12:20,020 คุณหักล้างมันไปได้ 230 00:12:20,020 --> 00:12:23,270 สิ่งที่คุณเหลือตอนจบมีแค่เทอม 231 00:12:23,270 --> 00:12:25,520 ไม่กี่เทอม 232 00:12:25,520 --> 00:12:27,130 แต่เอาล่ะ อันนี้มัน -- 233 00:12:27,130 --> 00:12:29,421 มันค่อนข้างยุ่ง แต่เป็นปัญหาที่ ทำแล้วสบายใจดี 234 00:12:29,421 --> 00:12:30,640