1 00:00:00,000 --> 00:00:00,950 หัวข้อ พิสูจน์สมการ log a + log b = log ab 2 00:00:00,950 --> 00:00:02,160 สวัสดี 3 00:00:02,160 --> 00:00:05,230 เราจะมาลองดูการทำงานของคุณสมบัติ log กัน 4 00:00:05,230 --> 00:00:07,700 เราพึ่งจะดูกันไปในเรื่อง ลอการิทึม แม้ว่า 5 00:00:07,700 --> 00:00:19,230 ที่เขียน เราจะเขียนฐาน log เป็น x ของ a 6 00:00:19,230 --> 00:00:22,020 เท่ากับ... ผมไม่รู้ว่าจะขึ้นต้นด้วย n อย่างไร 7 00:00:22,020 --> 00:00:23,550 นี้หมายความว่าอย่างไรนะหรอ 8 00:00:23,550 --> 00:00:35,800 หมายความว่า x กำลัง n เท่ากับ a 9 00:00:35,800 --> 00:00:37,880 ผมคิดว่าเราน่าจะพอรู้แล้ว 10 00:00:37,880 --> 00:00:40,150 เราจะลองมาเรียนด้วยวิดีโอเรื่อง ลอการึทึม 11 00:00:40,150 --> 00:00:42,860 และสำคัญมากที่ต้องตระหนักว่าเมื่อคุณจะ 12 00:00:42,860 --> 00:00:49,170 แสดงสมการลอการึทึม อย่าง log a ฐาน x คำตอบที่ 13 00:00:49,170 --> 00:00:52,350 ได้จากการคำนวณ เป็นเลขยกกำลัง 14 00:00:52,350 --> 00:00:54,231 n เป็นเลขยกกำลัง 15 00:00:54,231 --> 00:00:56,820 เท่ากับ ตรงนี้ 16 00:00:56,820 --> 00:00:58,910 ไม่สามารถเขียนอย่างนี้ได้ 17 00:00:58,910 --> 00:01:02,190 ที่ทำได้คือ ตรงนี้ครับ 18 00:01:02,190 --> 00:01:10,140 เขียน x มันดูจะยุ่งเล็กน้อย กับ log 19 00:01:10,140 --> 00:01:13,930 ฐาน x ของ a เท่ากับ a 20 00:01:13,930 --> 00:01:17,000 ทั้งหมดนี้ ลองดูที่ n และแทนที่ด้วยเทอมนี้ 21 00:01:17,000 --> 00:01:19,530 ผมจะเขียนตรงนี้ เพราะผมอยากให้คุณลองดูว่า 22 00:01:19,530 --> 00:01:22,580 จริงๆแล้ว จะง่ายที่เข้าใจตรงที่แสดงนี้ 23 00:01:22,580 --> 00:01:24,390 ตรง log นี้ในการคำนวณ 24 00:01:24,390 --> 00:01:25,745 มันจะเป็นเลขยกกำลัง 25 00:01:25,745 --> 00:01:27,420 และเราจะทดไว้ตรงนี้ 26 00:01:27,420 --> 00:01:29,910 อ่าตรงนี้ล่ะกัน นี้เป็นทั้งหมด log 27 00:01:29,910 --> 00:01:32,380 ที่มาจากคุณสมบัติของ log 28 00:01:32,380 --> 00:01:35,130 ลองดูนี้ อะไรที่เราต้องทำ 29 00:01:35,130 --> 00:01:37,760 เราต้องมองไปที่คุณสมบัติของ log 30 00:01:37,760 --> 00:01:38,540 และมองไปรอบตรงนี้ 31 00:01:38,540 --> 00:01:40,405 จากนั้นเราจะมาสรุปกัน 32 00:01:40,405 --> 00:01:41,120 เอานี้ออกไปก่อน 33 00:01:41,120 --> 00:01:45,100 ตรงนี้ผมจะลองแสดงให้เห็นซึ่งบางทีอาจเป็นเรื่องธรรมดา 34 00:01:45,100 --> 00:01:47,040 ที่เราพบสิ่งนี้ 35 00:01:47,040 --> 00:01:52,960 เราบอกว่า x เขียนด้วยสีนี้ 36 00:01:52,960 --> 00:01:55,600 ผมจะเก็บสิ่งที่เราสนใจไว้ตรงนี้ 37 00:01:55,600 --> 00:02:05,190 และบอกว่า x กำลัง l เท่ากับ a 38 00:02:05,190 --> 00:02:07,680 ถ้าเราเขียน log ตรงนี้ เหมือนกัน 39 00:02:07,680 --> 00:02:14,900 จากความสัมพันธ์ของ log เราจะเขียนได้เป็น log ฐาน x 40 00:02:14,900 --> 00:02:19,410 ของ a = l ถูกไหมครับ 41 00:02:19,410 --> 00:02:22,530 ผมพึ่งจะเขียนไปบนนี้ 42 00:02:22,530 --> 00:02:25,010 เปลี่ยนสีหน่อยล่ะกัน 43 00:02:25,010 --> 00:02:33,100 เราบอกว่า x กำลัง m = b ตรงนี้ 44 00:02:33,100 --> 00:02:34,620 เหมือนกันครับ 45 00:02:34,620 --> 00:02:41,980 ก็คือ log ฐาน x ของ b 46 00:02:41,980 --> 00:02:43,730 เท่ากับ m ถูกไหมครับ 47 00:02:43,730 --> 00:02:46,280 ผมจะทำตรงนี้เช่นกันกับบรรทัดนี้ 48 00:02:46,280 --> 00:02:47,452 เปลี่ยนสีหน่อย 49 00:02:47,452 --> 00:02:49,620 เราจะยังคงทำแบบนี้และสังเกตุสิ่งที่เกิดขึ้น 50 00:02:49,620 --> 00:02:52,770 เราเขียนอีกสีล่ะกัน 51 00:02:52,770 --> 00:02:56,380 เราเขียนอีกสีล่ะกัน 52 00:02:56,380 --> 00:03:03,010 x กำลัง n และ 53 00:03:03,010 --> 00:03:03,710 x กำลัง n และ 54 00:03:03,710 --> 00:03:04,710 จะเห็นว่า 55 00:03:04,710 --> 00:03:12,360 มันคล้าย กับ x กำลัง n = a คูณ b 56 00:03:12,360 --> 00:03:15,260 x กำลัง n = a คูณ b 57 00:03:15,260 --> 00:03:22,730 และเราบอกว่า log ฐาน x 58 00:03:22,730 --> 00:03:26,420 เท่ากับ a คูณ b 59 00:03:26,420 --> 00:03:28,460 ทีนี้เราจะทำอะไรกับทั้งหมดนี้ล่ะ 60 00:03:28,460 --> 00:03:31,010 ลองเริ่มที่ด้านขวาตรงนี้ 61 00:03:31,010 --> 00:03:33,420 x กำลัง n เท่ากับ a คูณ b 62 00:03:33,420 --> 00:03:35,670 ทีนี้เราจเขียนอย่างไร 63 00:03:35,670 --> 00:03:38,910 นี้ครับ 64 00:03:38,910 --> 00:03:41,670 b ตรงนี้ ถูกไหม 65 00:03:41,670 --> 00:03:43,010 เขียนตรงนี้นะครับ 66 00:03:43,010 --> 00:03:49,770 เรารู้ว่า x กำลัง n = a 67 00:03:49,770 --> 00:03:51,480 a ตรงนี้ 68 00:03:51,480 --> 00:03:55,120 x กำลัง l 69 00:03:55,120 --> 00:03:57,370 x กำลัง l 70 00:03:57,370 --> 00:03:59,500 แล้ว b คืออะไร 71 00:03:59,500 --> 00:04:01,190 คูณ b 72 00:04:01,190 --> 00:04:04,740 b คือ x กำลัง m ถูกไหม 73 00:04:04,740 --> 00:04:07,380 นี้ผมไม่ได้ทำงานอาร์ทเลยนะ 74 00:04:07,380 --> 00:04:09,320 แต่นี้ x กำลัง l คูณกับ x กำลัง m 75 00:04:09,320 --> 00:04:13,730 เรารู้มาจากการคูณเลขเรื่อง เลขยกกำลังแล้วว่า 76 00:04:13,730 --> 00:04:17,390 2 ผลคูณของเลขยกกำลังที่มีฐานเหมือนกัน 77 00:04:17,390 --> 00:04:19,025 เราจะทำการนำเอาเลขยกกำลังนั้นมาบวกกัน 78 00:04:19,025 --> 00:04:22,830 จึงเท่ากับ อ่า ลองเปลี่ยนสีหน่อย 79 00:04:22,830 --> 00:04:24,660 ผมไม่รู้ว่าถ้าบอกไปว่านี้มันต้องด้วยปากได้ไหม 80 00:04:24,660 --> 00:04:25,300 แต่คุณก็ได้ประเด็นนะ 81 00:04:25,300 --> 00:04:27,560 ถ้าคุณมีฐานที่เหมือนกันแบบนี้ 82 00:04:27,560 --> 00:04:28,930 คุณก็เอา เลขยกกำลังมาบวกกันเลย 83 00:04:28,930 --> 00:04:32,390 ซึ่งเท่ากับ x ผมเขียนด้วยสีนี้ เพราะ 84 00:04:32,390 --> 00:04:33,870 นี้มองง่าย 85 00:04:33,870 --> 00:04:39,590 l + m 86 00:04:39,590 --> 00:04:42,520 เขียนได้อย่างนี้ล่ะกันนะ 87 00:04:42,520 --> 00:04:43,820 เขียนได้อย่างนี้ล่ะกันนะ 88 00:04:43,820 --> 00:04:47,590 x กำลัง n เท่ากับ x กำลัง l+m 89 00:04:47,590 --> 00:04:49,790 ใส่ x ตรงนี้ 90 00:04:49,790 --> 00:04:51,350 อ่า อยากได้สีเขียวแล้วซิ 91 00:04:51,350 --> 00:04:53,530 x กำลัง l+m 92 00:04:53,530 --> 00:04:54,050 เราทราบอะไรบ้างล่ะ 93 00:04:54,050 --> 00:04:58,980 เรารู้ว่า x กำลัง n เท่ากับ x กำลัง l+m 94 00:04:58,980 --> 00:05:00,220 ถูกไหม 95 00:05:00,220 --> 00:05:02,510 เรามีฐานที่เท่ากัน 96 00:05:02,510 --> 00:05:06,370 ดังนั้นเลขยกกำลังต้องเท่ากัน 97 00:05:06,370 --> 00:05:18,863 เรารู้ว่า n เท่ากับ l+m 98 00:05:18,863 --> 00:05:21,270 ทำอะไรได้ล่ะทีนี้ 99 00:05:21,270 --> 00:05:23,590 ก็คล้ายกับ ลอการึทึม 100 00:05:23,590 --> 00:05:25,840 ผมจะได้อะไรล่ะ 101 00:05:25,840 --> 00:05:27,590 ผมคิดว่าคุณเห็นเหมือนที่ผมเห็นแล้ว 102 00:05:27,590 --> 00:05:31,140 ว่าจะเขียน n ได้อีกวิธีอย่างไร 103 00:05:31,140 --> 00:05:34,510 x กำลัง n = a คูณ b 104 00:05:34,510 --> 00:05:37,350 ผมจะข้ามส่วนนี้ไป 105 00:05:37,350 --> 00:05:40,080 หมายความว่ากลับมาตรงนี้ x กำลัง n 106 00:05:40,080 --> 00:05:40,710 เท่ากับ a คูณ b 107 00:05:40,710 --> 00:05:44,640 คือ log ฐาน x ของ a คูณ b เท่ากับ n 108 00:05:44,640 --> 00:05:45,170 อย่างที่รู้ 109 00:05:45,170 --> 00:05:45,890 อย่างที่รู้ 110 00:05:45,890 --> 00:05:47,880 หวังว่าคุณคงไม่ได้คิดมากที่ไม่ได้กลับไป 111 00:05:47,880 --> 00:05:52,360 คือผมลืมเขียนลงไปในตอนแรก 112 00:05:52,360 --> 00:05:53,250 งั้น 113 00:05:53,250 --> 00:05:54,070 เอาอย่างนี้ 114 00:05:54,070 --> 00:05:55,520 การเขียน n อีกอย่าง 115 00:05:55,520 --> 00:05:58,400 ตรงนี้ 116 00:05:58,400 --> 00:06:01,640 log ฐาน x ของ a คูณ b 117 00:06:01,640 --> 00:06:04,840 เราแทนนี้ด้วย n 118 00:06:04,840 --> 00:06:11,690 จะได้ log ฐาน x ของ a คูณ b 119 00:06:11,690 --> 00:06:13,080 ได้เท่าไหร่ครับ 120 00:06:13,080 --> 00:06:14,500 เท่ากับ l 121 00:06:14,500 --> 00:06:18,230 l เขียนได้ตรงนี้ 122 00:06:18,230 --> 00:06:25,570 เท่ากับ log ฐาน x ของ a + m 123 00:06:25,570 --> 00:06:27,710 m คืออะไร 124 00:06:27,710 --> 00:06:30,792 m คือนี้ 125 00:06:30,792 --> 00:06:35,970 log ฐาน x ของ b 126 00:06:35,970 --> 00:06:38,990 ตรงนี้เรามีคุณสมบัติของ ลอการึทึม 127 00:06:38,990 --> 00:06:44,620 log ฐาน x ของ a คูณ b มันก็เท่ากับ 128 00:06:44,620 --> 00:06:48,130 log ฐาน x ของ a + log ฐาน x ของ b 129 00:06:48,130 --> 00:06:50,880 ถึงตรงนี้ หวังว่าจะพิสูจน์ได้แล้ว 130 00:06:50,880 --> 00:06:55,460 และถ้าคุณต้องการเข้าใจง่ายๆ 131 00:06:55,460 --> 00:07:00,400 จากความจริงของ ลอการึทึม ที่ไม่เป็นเลขยกกำลัง 132 00:07:00,400 --> 00:07:02,250 ด้วยสิ่งนี้ ผมจะเก็บวิดีโอนี้ไว้ 133 00:07:02,250 --> 00:07:04,470 และในวิดีโอถัดไป ผมจะพิสูจน์ 134 00:07:04,470 --> 00:07:05,900 คุณสมบัติของ ลอการึทึมอื่นๆอีก 135 00:07:05,900 --> 00:07:07,670 แล้วพบกันครับ 136 00:07:07,670 --> 00:07:07,990 แล้วพบกันครับ