WEBVTT 00:00:00.000 --> 00:00:00.520 00:00:00.520 --> 00:00:04.050 สิ่งที่ผมอยากทำในวิดีโอนี้ คือหาพื้นที่ของเขตนี้ 00:00:04.050 --> 00:00:07.200 ที่ผมแรเงาด้วยสีเหลือง 00:00:07.200 --> 00:00:11.140 และสิ่งที่ดูท้าทายคือว่าในเขตนี้ 00:00:11.140 --> 00:00:12.810 ผมมีฟังก์ชันตัวล่างเดียวกัน 00:00:12.810 --> 00:00:14.540 หรือจะเรียกว่าขอบล่างก็ได้ คือ y 00:00:14.540 --> 00:00:16.870 เท่ากับ x กำลังสองส่วน 4 ลบ 1 00:00:16.870 --> 00:00:19.242 แต่ผมมีขอบบนต่างกัน 00:00:19.242 --> 00:00:20.700 วิธีที่เราแก้ปัญหานี้ 00:00:20.700 --> 00:00:23.290 คือการแบ่งพื้นที่นี้เป็นสองส่วน 00:00:23.290 --> 00:00:26.640 หรือแบ่งเขตนี้เป็นสองเขต เขตทางซ้าย 00:00:26.640 --> 00:00:28.250 กับเขตทางขวา โดย 00:00:28.250 --> 00:00:30.730 สำหรับเขตแรกนี้ ผมจะ -- 00:00:30.730 --> 00:00:34.310 ผมจะระบายสีด้วยสีเหลืองอีก -- สำหรับเขตแรกนี้ 00:00:34.310 --> 00:00:35.950 ตลอดช่วงทั้งหมดของ x นั้น 00:00:35.950 --> 00:00:40.360 มันดูเหมือนว่า x จะไปจาก 0 ถึง 1 00:00:40.360 --> 00:00:44.280 y เท่ากับ -- เมื่อ x เท่ากับ 1, ฟังก์ชันนี้เท่ากับ 1 00:00:44.280 --> 00:00:47.220 เมื่อ x เท่ากับ 1, ฟังก์ชันนี้ก็เท่ากับ 1 ด้วย 00:00:47.220 --> 00:00:48.810 นี่คือจุด (1, 1) 00:00:48.810 --> 00:00:50.320 นี่คือจุดที่พวกมันตัดกัน 00:00:50.320 --> 00:00:53.250 สำหรับส่วนนี้ เขตย่อยนี่ตรงนี้ 00:00:53.250 --> 00:00:57.420 y เท่ากับรากที่สองของของ x เป็นฟังก์ชันบนตลอดเวลา 00:00:57.420 --> 00:00:59.230 แล้วเรามี -- เราตั้ง 00:00:59.230 --> 00:01:02.860 อีกตัว -- เราแยกหา 00:01:02.860 --> 00:01:04.920 พื้นที่ของเขตนี้ได้ 00:01:04.920 --> 00:01:07.960 จาก x เท่ากับ 1 ถึง x เท่ากับ 2 00:01:07.960 --> 00:01:10.890 เมื่อ y เท่ากับ 2 ลบ x เป็นฟังก์ชันบน 00:01:10.890 --> 00:01:12.450 ลองทำดู 00:01:12.450 --> 00:01:14.710 ลองคิดถึงเขตแรกก่อน 00:01:14.710 --> 00:01:17.050 มันจะเท่ากับอินทิกรัลจำกัดเขตจาก x 00:01:17.050 --> 00:01:19.640 เท่ากับ 0 ถึง x เท่ากับ 1 00:01:19.640 --> 00:01:25.120 และฟังก์ชันบนของเราคือรากที่สองของ x รากที่สองของ x 00:01:25.120 --> 00:01:28.390 แล้วจากนั้น เราอยากลบฟังก์ชันล่าง -- 00:01:28.390 --> 00:01:32.320 รากที่สองของ x ลบ x กำลังสองส่วน 4 ลบ 1 00:01:32.320 --> 00:01:39.200 00:01:39.200 --> 00:01:42.400 แล้วแน่นอน เรามี dx 00:01:42.400 --> 00:01:46.350 อันนี้ตรงนี้ อันนี้บรรยายพื้นที่สีเหลือง 00:01:46.350 --> 00:01:49.730 และคุณคงนึกออก ส่วนนี่ตรงนี้ 00:01:49.730 --> 00:01:51.660 ผลต่างระหว่างฟังก์ชันสองตัวนี้ 00:01:51.660 --> 00:01:53.164 ก็คือความสูง 00:01:53.164 --> 00:01:54.580 ขอผมใช้อีกสีนะ 00:01:54.580 --> 00:01:57.820 00:01:57.820 --> 00:01:59.680 แล้วคุณคูณมันด้วย dx 00:01:59.680 --> 00:02:03.390 คุณจะได้สี่เหลี่ยมเล็กๆ กว้าง dx 00:02:03.390 --> 00:02:06.600 แล้วคุณทำไปสำหรับแต่ละ x 00:02:06.600 --> 00:02:08.860 แต่ละ x คุณจะได้สี่เหลี่ยมมุมฉากต่างๆ กัน 00:02:08.860 --> 00:02:10.650 แล้วคุณบวกพวกมันเข้า 00:02:10.650 --> 00:02:14.570 คุณหาลิมิตเมื่อ การเปลี่ยนแปลงของ x เข้าใกล้ 0 00:02:14.570 --> 00:02:16.664 แล้วคุณจะได้สี่เหลี่ยมมุมฉากบางเฉียบสุดๆ 00:02:16.664 --> 00:02:18.330 และคุณมีจำนวนสี่เหลี่ยมนับไม่ถ้วน 00:02:18.330 --> 00:02:21.060 นั่นคือนิยามของเรา หรือนิยามรีมานน์ 00:02:21.060 --> 00:02:22.820 ว่าอินทิกรัลจำกัดเขตคืออะไร 00:02:22.820 --> 00:02:25.370 และนี่คือพื้นที่ของเขตซ้าย 00:02:25.370 --> 00:02:27.370 ด้วยเหตุผลเดียวกัน เราก็หา 00:02:27.370 --> 00:02:28.972 พื้นที่ของเขตขวาได้ 00:02:28.972 --> 00:02:30.680 เขตขวา -- เราแค่ 00:02:30.680 --> 00:02:32.127 บวกสองตัวนี้เข้าด้วยกัน 00:02:32.127 --> 00:02:34.210 เขตขวา เราจะไปจาก x เท่ากับ 0 00:02:34.210 --> 00:02:38.530 ถึง x -- โทษที x เท่ากับ 1 ถึง x เท่ากับ 2, 1 ถึง 2 00:02:38.530 --> 00:02:42.130 ฟังก์ชันบนคือ 2 ลบ x 00:02:42.130 --> 00:02:47.220 แล้วจากนั้น เราจะลบฟังก์ชันล่าง 00:02:47.220 --> 00:02:49.660 ซึ่งก็คือ x กำลังสองส่วน 4 ลบ 1 00:02:49.660 --> 00:02:53.780 00:02:53.780 --> 00:02:56.060 และตอนนี้เราต้องหาค่า 00:02:56.060 --> 00:02:58.800 ลองจัดรูปอันนี้ตรงนี้ให้ง่ายลง 00:02:58.800 --> 00:03:02.100 อันนี้เท่ากับอินทิกรัลจำกัดเขต 00:03:02.100 --> 00:03:09.220 จาก 0 ถึง 1 ของรากที่สองของ x ลบ x กำลังสองส่วน 4 บวก 1 00:03:09.220 --> 00:03:12.020 dx -- ผมเขียนทั้งหมดด้วยสีเดียวแล้ว -- 00:03:12.020 --> 00:03:18.710 บวกอินทิกรัลจำกัดเขต จาก 1 ถึง 2 ของ 2 ลบ x 00:03:18.710 --> 00:03:21.330 ลบ x กำลังสองส่วน 4 00:03:21.330 --> 00:03:25.330 แล้วลบลบเป็นบวก 3 -- หรือบวก 1 00:03:25.330 --> 00:03:26.650 เราบวกมันกับ 2 นี้ได้ 00:03:26.650 --> 00:03:29.330 แล้ว 2 นี้กลายเป็น 3 00:03:29.330 --> 00:03:34.747 ผมบอกว่า 2 ลบลบ 1 เป็น 3 dx 00:03:34.747 --> 00:03:36.705 และตอนนี้เราต้องหาปฏิยานุพันธ์ 00:03:36.705 --> 00:03:39.310 และหาค่าที่ 1 กับ 0 00:03:39.310 --> 00:03:42.130 ปฏิยานุพันธ์ขอองตัวนี้คือ -- 00:03:42.130 --> 00:03:43.480 นี่คือ x กำลัง 1/2 00:03:43.480 --> 00:03:44.730 เพิ่มขึ้น 1 00:03:44.730 --> 00:03:47.500 เพิ่มเลขชี้กำลังขึ้น 1 คุณจะได้ x กำลัง 3/2 00:03:47.500 --> 00:03:49.200 แล้วคูณมันด้วยส่วนกลับ 00:03:49.200 --> 00:03:53.650 ของเลขชี้กำลังใหม่ -- มันก็คือ 2/3 x กำลัง 3/2 00:03:53.650 --> 00:03:56.410 ลบ -- ปฏิยานุพันธ์ของ x กำลังสองส่วน 4 00:03:56.410 --> 00:04:02.160 ได้ x กำลัง 3, หารด้วย 3, หารด้วย 4, ได้หารด้วย 12 00:04:02.160 --> 00:04:03.660 บวก x 00:04:03.660 --> 00:04:05.510 นั่นคือปฏิยานุพันธ์ของ 1 00:04:05.510 --> 00:04:09.590 เราจะหาค่ามันที่ 1 กับ 0 00:04:09.590 --> 00:04:11.640 แล้วตรงนี้ ปฏิยานุพันธ์คือ 00:04:11.640 --> 00:04:19.670 3x ลบ x กำลังสองส่วน 2 ลบ x 00:04:19.670 --> 00:04:22.029 กำลัง 3 ส่วน 12 00:04:22.029 --> 00:04:24.450 เหมือนเดิม หาค่ามันที่ -- ไม่ใช่เหมือนเดิมสิ 00:04:24.450 --> 00:04:28.460 ตอนนี้เราจะหาค่ามันที่ 2 กับ 1 แทน 00:04:28.460 --> 00:04:30.610 ตรงนี้ คุณหาค่าทั้งหมดนี้ที่ 1 00:04:30.610 --> 00:04:35.690 คุณจะได้ 2/3 ลบ 1/12 บวก 1 00:04:35.690 --> 00:04:38.410 แล้วจากนั้น คุณลบค่านี้ที่ 0 00:04:38.410 --> 00:04:41.010 แต่นี่ก็แค่ 0 คุณจึงไม่ได้อะไร 00:04:41.010 --> 00:04:44.260 นี่คือสิ่งที่ลดรูปจากตัวสีเหลือง 00:04:44.260 --> 00:04:46.740 แล้วตัวสีม่วงนี้ สีบานเย็นนี้ 00:04:46.740 --> 00:04:51.070 หรือสีชมพู สีอะไรก็ช่าง ก่อนอื่นคุณหาค่าที่ 2 00:04:51.070 --> 00:04:58.330 คุณได้ 6 ลบ -- ลองดู 2 กำลังสองส่วน 2 ได้ 2, ลบ 8 00:04:58.330 --> 00:04:58.920 ส่วน 12 00:04:58.920 --> 00:05:01.520 00:05:01.520 --> 00:05:03.650 แล้วจากนั้น คุณจะลบ 00:05:03.650 --> 00:05:05.460 ตัวนี้หาค่าที่ 1 00:05:05.460 --> 00:05:13.270 มันจึงเท่ากับ 3 คูณ 1 -- นั่นคือ 3 -- ลบ 1/2 ลบ 1 00:05:13.270 --> 00:05:14.604 ส่วน 12 00:05:14.604 --> 00:05:16.270 และตอนนี้ เราจะเหลือ 00:05:16.270 --> 00:05:17.889 แค่บวกเศษส่วนต่างๆ 00:05:17.889 --> 00:05:19.180 ลองดูว่าเราทำได้ไหม 00:05:19.180 --> 00:05:20.930 มันดูเหมือนว่า 12 จะเป็น 00:05:20.930 --> 00:05:22.300 ตัวส่วนร่วมที่ชัดที่สุด 00:05:22.300 --> 00:05:29.430 ตรงนี้ คุณมี 8/12 ลบ 1/ 12 บวก 12/12 00:05:29.430 --> 00:05:31.310 อันนี้ลดรูปเหลือ -- นี่คืออะไร? 00:05:31.310 --> 00:05:36.440 นี่คือ 19/12 ส่วนที่เราเขียนด้วยสีเหลือง 00:05:36.440 --> 00:05:40.190 แล้วตัวนี้ ขอผมใช้สีนี้นะ 00:05:40.190 --> 00:05:43.280 6 ลบ 2 นี่ก็แค่ 4 00:05:43.280 --> 00:05:51.100 เราเขียนได้เป็น 48/12 -- นั่นคือ 4 -- ลบ 8/12 00:05:51.100 --> 00:05:54.460 แล้วเราจะต้องลบ 3 ซึ่งก็คือ 36/12 00:05:54.460 --> 00:05:57.170 00:05:57.170 --> 00:06:02.410 แล้วเราจะบวก 1/2 ซึ่งก็คือบวก 6/12 00:06:02.410 --> 00:06:06.030 แล้วเราจะบวก 1/12 00:06:06.030 --> 00:06:10.730 อันนี้จึงลดรูปหมดเเหลือ -- ลองดู 48 ลบ 8 00:06:10.730 --> 00:06:18.410 ได้ 40, ลบ 36 ได้ 4, บวก 6 ได้ 10, บวก 1 ได้ 11 00:06:18.410 --> 00:06:21.614 อันนี้จึงกลายเป็นบวก 11/12 00:06:21.614 --> 00:06:23.030 ขอผมดูหน่อยว่าผมทำถูกจริง 00:06:23.030 --> 00:06:28.830 48 ลบ 8 ได้ 40, ลบ 36 ได้ 4, 10, 11 00:06:28.830 --> 00:06:30.040 มันดูใช้ได้แล้ว 00:06:30.040 --> 00:06:31.955 แล้วเราก็พร้อมบวกสองตัวนี้ 00:06:31.955 --> 00:06:36.010 19 บวก 11 เท่ากับ 30/12 00:06:36.010 --> 00:06:38.290 หรือถ้าเราอยากจัดรูปอันนี้หน่อย 00:06:38.290 --> 00:06:40.990 เราก็หารตัวเศษกับตัวส่วนด้วย 6 ได้ 00:06:40.990 --> 00:06:44.960 อันนี้เท่ากับ 5/2 หรือ 2 1/2 00:06:44.960 --> 00:06:45.630 เราก็เสร็จแล้ว 00:06:45.630 --> 00:06:50.560 เราหาพื้นที่ของเขตทั้งหมดนี้ได้แล้ว 00:06:50.560 --> 00:06:53.255 มันคือ 2 1/2 00:06:53.255 --> 00:06:53.755