1 00:00:00,000 --> 00:00:00,760 2 00:00:00,760 --> 00:00:03,400 ในพจน์นี้ เราจะหารพหุนามดีกรีสาม 3 00:00:03,400 --> 00:00:06,300 ด้วยพหุนามดีกรีหนึ่ง 4 00:00:06,300 --> 00:00:08,360 และเราเขียนพจน์นี้ให้รูปอย่างง่ายโดยใช้ 5 00:00:08,360 --> 00:00:10,229 การหารยาวพีชคณิตแบบดั้งเดิม 6 00:00:10,229 --> 00:00:12,020 แต่สิ่งที่เราจะพูดถึงในวิดีโอนี้ 7 00:00:12,020 --> 00:00:13,436 คือเทคนิคที่ต่างออกไปเล็กน้อย 8 00:00:13,436 --> 00:00:15,990 และเราเรียกมันว่าการหารสังเคราะห์ 9 00:00:15,990 --> 00:00:17,640 และการหารสังเคราะห์ดูเหมือน 10 00:00:17,640 --> 00:00:20,470 มนตร์ดำในวิดีโอนี้ 11 00:00:20,470 --> 00:00:21,886 ในวิดีโอต่อๆ ไป เราจะ 12 00:00:21,886 --> 00:00:24,450 คิดว่าทำไมมันจึงสมเหตุสมผล ทำไมคุณถึง 13 00:00:24,450 --> 00:00:28,690 ได้ผลเหมือนกับการหารยาวแบบพีชคณิต 14 00:00:28,690 --> 00:00:29,540 ดั้งเดิม 15 00:00:29,540 --> 00:00:32,830 ความเห็นส่วนตัวผมไม่ค่อยชอบ การหารสังเคราะห์ 16 00:00:32,830 --> 00:00:35,240 เพราะมันเป็นวิธีที่เน้นขั้นตอนมากๆๆ 17 00:00:35,240 --> 00:00:38,150 ผมชอบการหารยาวดั้งเดิมมากกว่า 18 00:00:38,150 --> 00:00:40,670 แต่ผมว่าคุณจะเห็นว่ามันมีประโยชน์ 19 00:00:40,670 --> 00:00:41,950 มันเร็วกว่า 20 00:00:41,950 --> 00:00:44,900 และมันใช้ที่ทำในกระดาษน้อยกว่ามาก 21 00:00:44,900 --> 00:00:47,380 ลองทำการหารสังเคราะห์นี้กัน 22 00:00:47,380 --> 00:00:49,750 ลองเขียนพจน์นี้ในรูปอย่างง่ายกัน 23 00:00:49,750 --> 00:00:52,640 ก่อนที่เราจะเริ่ม มีสิ่งสำคัญสองอย่าง 24 00:00:52,640 --> 00:00:53,450 ที่ต้องคิดในใจ 25 00:00:53,450 --> 00:00:55,400 เราจะทำการหารสังเคราะห์ 26 00:00:55,400 --> 00:00:56,730 ในรูปที่ง่ายที่สุด 27 00:00:56,730 --> 00:00:59,940 และเวลาทำขั้นตอนพื้นฐานที่สุด กระบวนการ 28 00:00:59,940 --> 00:01:01,650 ที่พื้นที่ฐานที่สุด เราต้องดูสองอย่าง 29 00:01:01,650 --> 00:01:04,370 ในพจน์ล่างนี้ 30 00:01:04,370 --> 00:01:09,970 อย่างแรกคือว่ามันต้องมีพหุนามดีกรี 1 31 00:01:09,970 --> 00:01:11,262 คุณมีแค่ x ตรงนี้ 32 00:01:11,262 --> 00:01:13,220 คุณจะไม่มี x กำลังสอง, x กำลังสาม 33 00:01:13,220 --> 00:01:15,220 และ x กำลังสี่ อะไรพวกนั้น 34 00:01:15,220 --> 00:01:19,470 อีกอย่างคือว่า สัมประสิทธิ์ตรงนี้คือ 1 35 00:01:19,470 --> 00:01:21,910 มีวิธีทำถ้าสัมประสิทธิ์ต่างออกไป 36 00:01:21,910 --> 00:01:23,493 แต่การหารสังเคราะห์ของเรา เราจะ 37 00:01:23,493 --> 00:01:26,329 ต้องเพิ่มเติมเครื่องมืออีกนิดหน่อย 38 00:01:26,329 --> 00:01:27,870 โดยทั่วไป สิ่งที่ผมจะแสดง 39 00:01:27,870 --> 00:01:30,170 ให้คุณดูตอนนี้ถ้าคุณมีอะไรสักอย่าง 40 00:01:30,170 --> 00:01:33,580 ในรูป x บวกหรือลบจำนวนอื่น 41 00:01:33,580 --> 00:01:35,230 เมื่อรู้เช่นนั้นแล้ว 42 00:01:35,230 --> 00:01:38,114 ลองทำการหารสังเคราะห์กัน 43 00:01:38,114 --> 00:01:39,530 สิ่งแรกที่ผมจะทำ 44 00:01:39,530 --> 00:01:42,260 คือเขียนสัมประสิทธิ์สำหรับพหุนามนี้ 45 00:01:42,260 --> 00:01:43,800 ที่อยู่ในตัวเศษ 46 00:01:43,800 --> 00:01:45,230 ลองเขียนทั้งหมดลงไป 47 00:01:45,230 --> 00:01:47,210 เรามี 3 48 00:01:47,210 --> 00:01:50,780 เรามี 4 นั่นคือบวก 4 49 00:01:50,780 --> 00:01:54,460 เรามีลบ 2 50 00:01:54,460 --> 00:01:55,900 และลบ 1 51 00:01:55,900 --> 00:01:59,670 52 00:01:59,670 --> 00:02:02,380 และคุณจะเห็นแต่ละคนวาดเครื่องหมาย 53 00:02:02,380 --> 00:02:04,220 ต่างกันขึ้นอยู่กับว่าเขาทำ การหารสังเคราะห์อย่างไร 54 00:02:04,220 --> 00:02:05,800 แต่นี่คืออันที่พื้นฐานที่สุด 55 00:02:05,800 --> 00:02:07,350 และคุณอยากเว้นที่ว่างตรงนี้ไว้ 56 00:02:07,350 --> 00:02:08,473 สำหรับเลขอีกแถวหนึ่ง 57 00:02:08,473 --> 00:02:11,000 นั่นคือสาเหตุที่ผมลงมาข้างล่างนี้ 58 00:02:11,000 --> 00:02:13,130 แล้วเราดูที่ตัวส่วน 59 00:02:13,130 --> 00:02:15,200 เราจะสนใจเลขที่ x บวกหรือลบอยู่ 60 00:02:15,200 --> 00:02:17,340 โดยเฉพาะ เลขตรงนี้ 61 00:02:17,340 --> 00:02:20,570 เราจะดูที่ ตรงนี้ เรามีบวก 4 62 00:02:20,570 --> 00:02:24,540 แทนที่จะเขียนบวก 4 เราจะเขียนค่าลบของค่านั้น 63 00:02:24,540 --> 00:02:30,090 เราเขียนค่าลบ ซึ่งก็คือลบ 4 64 00:02:30,090 --> 00:02:33,470 65 00:02:33,470 --> 00:02:35,250 และตอนนี้เราตั้งมันขึ้นมา 66 00:02:35,250 --> 00:02:38,660 เราพร้อมทำการหารสังเคราะห์แล้ว 67 00:02:38,660 --> 00:02:40,150 และมันจะดูเหมือนมนตร์ดำ 68 00:02:40,150 --> 00:02:43,350 ในวิดีโอต่อๆ ไป เราจะอธิบายว่าทำไมมันจึงใช้ได้ 69 00:02:43,350 --> 00:02:45,700 อย่างแรก สัมประสิทธิ์แรกนี้ เราแค่ 70 00:02:45,700 --> 00:02:47,130 ดึงมันลงมา 71 00:02:47,130 --> 00:02:48,990 แล้วคุณใส่ 3 ตรงนั้น 72 00:02:48,990 --> 00:02:53,200 แล้วคุณคูณอะไรก็ตามที่มีตรงนี้ด้วยลบ 4 73 00:02:53,200 --> 00:02:55,820 คุณก็คูณมันด้วยลบ 4 74 00:02:55,820 --> 00:02:59,840 3 คูณลบ 4 เท่ากับลบ 12 75 00:02:59,840 --> 00:03:02,820 แล้วคุณบวก 4 กับลบ 12 76 00:03:02,820 --> 00:03:06,960 4 บวกลบ 12 เป็นลบ 8 77 00:03:06,960 --> 00:03:10,500 แล้วคุณคูณลบ 8 ด้วยลบ 4 78 00:03:10,500 --> 00:03:12,480 ผมว่าคุณคงเห็นรูปแบบ 79 00:03:12,480 --> 00:03:17,610 ลบ 8 คูณลบ 4 เป็นบวก 32 80 00:03:17,610 --> 00:03:21,180 ทีนี้เราบวกลบ 2 บวก บวก 32 81 00:03:21,180 --> 00:03:24,400 มันจะได้บวก 30 82 00:03:24,400 --> 00:03:28,600 แล้วคุณคูณบวก 30 กับลบ 4 83 00:03:28,600 --> 00:03:34,200 และนั่นให้ค่าลบ 120 84 00:03:34,200 --> 00:03:38,220 แล้วคุณบวกลบ 1 บวกลบ 120 85 00:03:38,220 --> 00:03:43,272 และคุณได้ลบ 121 86 00:03:43,272 --> 00:03:44,980 ทีนี้สิ่งสุดท้ายที่คุณทำคือว่า 87 00:03:44,980 --> 00:03:45,970 ผมมีหนึ่งเทอมตรงนี้ 88 00:03:45,970 --> 00:03:47,924 และในการหารสังเคราะห์เวอร์ชั่นเรียบๆ นี้ 89 00:03:47,924 --> 00:03:50,090 เราสนใจแค่ 90 00:03:50,090 --> 00:03:51,820 เวลาเรามี x บวกหรือลบอะไรสักอย่าง 91 00:03:51,820 --> 00:03:53,760 คุณจะมีหนึ่งเทอมตรงนี้ 92 00:03:53,760 --> 00:03:57,760 คุณแยกเทอมหนึ่งออกมา จากทางขวา อย่างนั้น 93 00:03:57,760 --> 00:03:59,770 และเราได้คำตอบของเรา 94 00:03:59,770 --> 00:04:02,250 ถึงแม้ว่ามันจะดูเหมือนมนตร์ดำ 95 00:04:02,250 --> 00:04:07,230 เวลาเขียนในรูปอย่างง่าย คุณจะได้ คุณพร้อมตีกลองฉลองแล้ว 96 00:04:07,230 --> 00:04:11,040 ตรงนี้ ค่านี่ตรงนี้ 97 00:04:11,040 --> 00:04:13,750 มันจะเทอมคงที่ 98 00:04:13,750 --> 00:04:15,460 คุณคิดเป็นเทอมดีกรี 0 ก็ได้ 99 00:04:15,460 --> 00:04:16,769 นี่ก็คือเทอม x 100 00:04:16,769 --> 00:04:18,928 และนี่ก็คือเทอม x กำลังสอง 101 00:04:18,928 --> 00:04:20,594 คุณสร้างมันจากตรงนี้ได้ 102 00:04:20,594 --> 00:04:22,520 เช่นตัวแรกนี้จะเป็นค่าคงที่ 103 00:04:22,520 --> 00:04:24,810 แล้วอันนี้จะเป็นเทอม x แล้วก็เทอม x กำลังสอง 104 00:04:24,810 --> 00:04:26,851 ถ้าเรามีอีกเทอม เราจะมี x กำลังสาม 105 00:04:26,851 --> 00:04:28,740 x กำลังสี่ ไปเรื่อยๆ 106 00:04:28,740 --> 00:04:41,750 ค่านี้จึงเท่ากับ 3x กำลังสองลบ 8x บวก 30 107 00:04:41,750 --> 00:04:44,420 108 00:04:44,420 --> 00:04:46,060 และอันนี้ตรงนี้ คุณมองมันเป็น 109 00:04:46,060 --> 00:04:53,910 เศษได้ จึงเป็นลบ 121 ส่วน x บวก 4 110 00:04:53,910 --> 00:04:55,740 อันนี้หารไม่ลงตัว 111 00:04:55,740 --> 00:05:00,397 ส่วน x บวก 4 112 00:05:00,397 --> 00:05:02,730 อีกวิธีที่คุณทำได้ คุณก็บอกได้ว่า 113 00:05:02,730 --> 00:05:03,760 นี่คือเศษ 114 00:05:03,760 --> 00:05:07,850 ผมจะได้ลบ 121 ส่วน x บวก 4 115 00:05:07,850 --> 00:05:13,222 และอันนี้จะเท่ากับ บวก 30 ลบ 8x บวก 3x กำลังสอง 116 00:05:13,222 --> 00:05:14,680 หวังว่าคุณคงพอเข้าใจนะ 117 00:05:14,680 --> 00:05:16,510 ผมจะทำตัวอย่างอีกอันในวิดีโอหน้า 118 00:05:16,510 --> 00:05:19,795 แล้วเราค่อยคิดว่าทำไมมันถึงใช้ได้กัน 119 00:05:19,795 --> 00:05:20,295