คำศัพท์ใหม่ ๆ มาจากไหนกัน - มาร์เซล เดนซี
-
0:07 - 0:13ทุก ๆ ปี คำศัพท์เกิดใหม่ประมาณ 1,000 คำ
ถูกเพิ่มลงในพจนานุกรมอังกฤษของออกซ์ฟอร์ด -
0:13 - 0:14ศัพท์เหล่านี้มาจากไหนกัน
-
0:14 - 0:18และเข้ามาในชีวิตประจำวันของเราได้อย่างไร
-
0:18 - 0:22ปัจจุบันศัพท์จำนวนกว่า 170,000 คำ
ถูกใช้ในภาษาอังกฤษ -
0:22 - 0:26อาจดูเหมือนว่ามีมากมายแล้ว
-
0:26 - 0:28แต่ในขณะที่โลกของเราเปลี่ยนแปลงไป
-
0:28 - 0:30ความคิดและสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ผุดขึ้นมา
-
0:30 - 0:32และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์
-
0:32 - 0:36คำที่เรามีอยู่ยังคงเว้นช่องว่าง
ในสิ่งที่เราต้องการสื่อออกมา -
0:36 - 0:39และเราเติมช่องว่างเหล่านั้นด้วย
ความแยบยลหลายอย่าง -
0:39 - 0:40การประยุกต์
-
0:40 - 0:44และบางครั้งก็ใช้วิธีที่เฉพาะทาง
-
0:44 - 0:48วิธีหนึ่งคือ การซึมซับคำศัพท์จากภาษาอื่น
-
0:48 - 0:51ภาษาอังกฤษยืมคำต่อหลายคำ
มาตลอดประวัติศาสตร์ -
0:51 - 0:57ซึ่งเกือบครึ่งหนึ่งของคำศัพท์
มาจากภาษาอื่นโดยตรง -
0:57 - 1:00บางครั้ง นี่เป็นวิธีที่ง่ายเพราะ
คำอธิบายของสิ่งนั้น -
1:00 - 1:02ได้ถูกยืมมาด้วย
-
1:02 - 1:06โรมและฝรั่งเศสนำแนวคิด
ทางกฎหมายและทางศาสนาเข้ามา -
1:06 - 1:09เช่น Altar (แท่นบูชา) และ Jury (คณะลูกขุน)
ในช่วงยุคกลางของอังกฤษ -
1:09 - 1:12ขณะที่การค้านำพืชผลและอาหารเข้ามา
-
1:12 - 1:13เช่น กาแฟอาราบิกา
-
1:13 - 1:14สปาเก็ตตี้อิตาเลียน
-
1:14 - 1:17และแกงเผ็ดของอินเดีย
-
1:17 - 1:20แต่ในบางครั้ง ภาษาอื่น ๆ มี
คำที่ดีและเหมาะสม -
1:20 - 1:23สำหรับความคิดที่ซับซ้อนหรืออารมณ์
-
1:23 - 1:24เช่น naïveté (ไร้เดียงสา)
-
1:24 - 1:25machismo (ความเป็นชาย)
-
1:25 - 1:27หรือ schadenfreude
(สุขเมื่อผู้อื่นมีทุกข์) -
1:27 - 1:31นักวิทยาศาสตร์ยังใช้ภาษา
คลาสสิกเพื่อตั้งชื่อสิ่งใหม่ๆ -
1:31 - 1:36ตัวอย่างเช่น คำว่า Clone มาจาก
คำกรีกโบราณ ที่หมายถึงกิ่งก้าน -
1:36 - 1:41เพื่ออธิบายถึงการเพาะต้นใหม่
จากกิ่งก้านเดิม -
1:41 - 1:45ในปัจจุบัน กระบวนการมีอยู่สองวิธี
-
1:45 - 1:50ด้วยการคำยืมภาษาอังกฤษ เช่น software
ไปใช้ในภาษาต่าง ๆ ทั่วโลก -
1:50 - 1:54อีกวิธีหนึ่งที่เป็นที่นิยมเพื่อเติม
ช่องว่างของคำศัพท์ -
1:54 - 1:59คือ การรวมคำแต่ละคำที่สื่อแนวคิดใหม่ ๆ
ที่เรามีอยู่ -
1:59 - 2:03โดยนำศัพท์ 2 คำ
มารวมเป็นคำประสม -
2:03 - 2:05เช่น airport (สนามบิน)
-
2:05 - 2:06หรือ starfish (ปลาดาว)
-
2:06 - 2:11หรือการตัดและการผสมผสานบางส่วน
ของคำเข้าด้วยกันเช่น spork (ช้อนกึ่งส้อม) -
2:11 - 2:12brunch (มื้อสาย)
-
2:12 - 2:14หรือ internet (อินเตอร์เน็ต)
-
2:14 - 2:16ซึ่งวิธีนี้แตกต่างจากการยืมคำจากภาษาอื่น ๆ
-
2:16 - 2:21เพราะเราสามารถเข้าใจได้
ตั้งแต่ได้ยินเป็นครั้งแรก -
2:21 - 2:24และบางครั้ง คำใหม่ ก็ไม่ได้ใหม่ไปซะทีเดียว
-
2:24 - 2:28คำเก่า ๆ ถูกนำกลับมาใช้อีกครั้ง
โดยถูกเปลี่ยนความหมายใหม่ -
2:28 - 2:33Villain แต่เดิมหมายถึง ชาวนา
แต่การบิดเบือนของขุนนางหัวสูง -
2:33 - 2:38ถูกเปลี่ยนความหมายเป็น
ผู้ที่ไม่ปฎิบัติตามกฏของอัศวิน -
2:38 - 2:41ดังนั้นจึงหมายถึง อันธพาล
-
2:41 - 2:44Geek ที่แต่เดิมหมายถึง นักแสดงตลก
-
2:44 - 2:46ถูกเปลี่ยนความหมายเป็น
คนที่ทำตัวแปลก -
2:46 - 2:50โดยถูกเจาะจงความหมายว่าเป็น
อัจฉริยะที่หมกมุ่น -
2:50 - 2:54บางครั้ง คำศัพท์ก็เปลี่ยนความหมาย
เป็นทางตรงกันข้าม มีทั้งการเหน็บแนม -
2:54 - 2:55การอุปมา
-
2:55 - 2:58หรือ การถูกใช้ในทางที่ผิด
-
2:58 - 3:04เช่น sick (ป่วย) และ wicked (ชั่วร้าย)
ถูกนำมาใช้ในความหมายว่า สุดยอด เจ๋ง -
3:04 - 3:07แต่ถ้าคำศัพท์ถูกสร้างโดยวิธีเหล่านี้
-
3:07 - 3:11ทำไมบางคำถึงกลายเป็นที่นิยม
ในขณะที่บางคำกลับถูกเลิกใช้ -
3:11 - 3:14หรือไม่ได้เป็นที่นิยมตั้งแต่แรก
-
3:14 - 3:16คำตอบนั้นง่าย ๆ เลย
-
3:16 - 3:20เมื่อนักวิทยาศาสตร์หรือบริษัทต่าง ๆ
ตั้งชื่อทางการให้กับสิ่งใหม่ที่ค้นพบ -
3:20 - 3:22หรือ เทคโนโลยี
-
3:22 - 3:28บางประเทศมีสถาบันภาษา
ที่ทำหน้าที่ตัดสินใจการเลือกใช้คำศัพท์ -
3:28 - 3:31แต่ส่วนมากจะใช้แหล่งอ้างอิงทางการ
อย่าง พจนานุกรม -
3:31 - 3:34สำหรับใช้งานเอกสารในปัจจุบัน
-
3:34 - 3:39ศัพท์ใหม่ไม่ได้เกิดจากที่กล่าวไว้ข้างต้น
แต่มาจากคนธรรมดา -
3:39 - 3:42ที่กระจายคำศัพท์ที่มีความผสมผสานที่โดนใจ
-
3:42 - 3:45ในการนำมาใช้และติดหู
-
3:45 - 3:46ส่วนคำว่า meme (มีม)
-
3:46 - 3:51เกิดขึ้นในยุค1970
โดยนักสังคมวิทยา นามว่า ริชาร์ด ดอว์คินส์ -
3:51 - 3:55จากการเลียนแบบกรีกโบราณ
-
3:55 - 3:59เขาใช้คำนี้เพื่ออธิบายความคิด
และสัญลักษณ์ที่เผยแพรวัฒนธรรม -
3:59 - 4:02ตั้งแต่ยีนส์ไปจนถึงประชากร
-
4:02 - 4:04เพราะอินเตอร์เน็ตถือกำเนิด
-
4:04 - 4:08กระบวนการคือการสังเกตมุกตลกและรูปภาพ
-
4:08 - 4:11ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ว
-
4:11 - 4:16หลังจากนั้น คำจึงหมายถึงการอ้างถึงรูปนั้นๆ
-
4:16 - 4:20ดังนั้น มีม ไม่ได้อธิบายว่าคำศัพท์
กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของภาษาได้อย่างไร -
4:20 - 4:23คำศัพท์ต่างหากที่ใช้ความหมายคำว่า
มีม ด้วยตัวของมันเอง -
4:23 - 4:28ปรากฎการณ์นี้เรียกว่า Autological
-
4:28 - 4:30หมายถึงการที่คำจะให้ความหมายในตัวมันเอง
-
4:30 - 4:33ศัพท์ใหม่ทุกคำไม่ได้
ถูกสร้างขึ้นอย่างเท่าเทียม -
4:33 - 4:35บางคำใช้เวลากว่าพันปี
-
4:35 - 4:37บางคำถูกดัดแปลงตามกาลเวลา
-
4:37 - 4:39และบางคำค่อย ๆ หายไป
-
4:39 - 4:41บางคำถ่ายทอดข้อมูล
-
4:41 - 4:43บางคำใช้ตีความ
-
4:43 - 4:45แต่วิธีการสร้างคำเหล่านี้
-
4:45 - 4:48การเดินทางกลายเป็นส่วนหนึ่งของคำพูด
-
4:48 - 4:52ที่บอกเรื่องราวของโลก
และวิธีที่เราใช้สื่อสารภายในนั้น
- Title:
- คำศัพท์ใหม่ ๆ มาจากไหนกัน - มาร์เซล เดนซี
- Description:
-
รับชมฉบับเต็มได้ที่: https://ed.ted.com/lessons/where-do-new-words-come-from-marcel-danesi
ปัจจุบันคำศัพท์จำนวนกว่า 170,000 คำ ถูกใช้ในภาษาอังกฤษ แต่ถึงอย่างนั้น คำศัพท์เกิดใหม่กว่าหนึ่งพันคำถูกเพิ่มลงในพจนานุกรมอังกฤษของออกซ์ฟอร์ดในทุก ๆ ปี แล้วคำศัพท์เหล่านั้นมาจากไหนกันและเข้ามาในชีวิตประจำวันของเราได้อย่างไร
มาร์เซล เดนซี จะมาอธิบายว่าคำศัพท์เกิดใหม่มาจากไหนกัน
เนื้อหาโดย มาร์เซล เดนซี ภาพเคลื่อนไหวโดย TOGETHER
- Video Language:
- English
- Team:
closed TED
- Project:
- TED-Ed
- Duration:
- 05:44
![]() |
Sakunphat Jirawuthitanant approved Thai subtitles for Where do new words come from? - Marcel Danesi | |
![]() |
Sakunphat Jirawuthitanant accepted Thai subtitles for Where do new words come from? - Marcel Danesi | |
![]() |
Sakunphat Jirawuthitanant edited Thai subtitles for Where do new words come from? - Marcel Danesi | |
![]() |
Natthacha Sangchaitaveeruk edited Thai subtitles for Where do new words come from? - Marcel Danesi | |
![]() |
Natthacha Sangchaitaveeruk edited Thai subtitles for Where do new words come from? - Marcel Danesi | |
![]() |
Natthacha Sangchaitaveeruk edited Thai subtitles for Where do new words come from? - Marcel Danesi | |
![]() |
Natthacha Sangchaitaveeruk edited Thai subtitles for Where do new words come from? - Marcel Danesi | |
![]() |
Natthacha Sangchaitaveeruk edited Thai subtitles for Where do new words come from? - Marcel Danesi |