เบอาทริซ โกรอง : เรื่องราวที่ตัดจากกระดาษ
-
0:03 - 0:09(เสียงปรบมือ)
-
0:17 - 0:21(เสียงปรบมือ)
-
0:27 - 0:30ฉันเป็นนักตัดกระดาษ
-
0:30 - 0:32(เสียงหัวเราะ)
-
0:32 - 0:35ฉันตัดเรื่องราวต่าง ๆ
-
0:35 - 0:38ขั้นตอนของฉันนั้นตรงไปตรงมา
-
0:38 - 0:40นำกระดาษมาหนึ่งแผ่น
-
0:40 - 0:43นึกเรื่องราวออกมาเป็นภาพ
-
0:43 - 0:46บางทีก็ร่างแบบ บางทีก็ไม่
-
0:46 - 0:48และเมื่อภาพของฉัน
-
0:48 - 0:51อยู่บนแผ่นกระดาษแล้ว
-
0:51 - 0:53ฉันก็แค่ต้องตัด
-
0:53 - 0:56ส่วนที่ไม่อยู่ในเรื่องออก
-
0:56 - 0:59ฉันไม่ได้ทำงานตัดกระดาษ
-
0:59 - 1:01แบบเป็นเส้นตรง
-
1:01 - 1:03ที่จริง
-
1:03 - 1:05ฉันมองว่ามันเป็นเกลียวมากกว่า
-
1:05 - 1:07ฉันไม่ได้เกิดมา
-
1:07 - 1:10พร้อมใบมีดในมือ
-
1:10 - 1:13และจำไม่ได้ว่าเคยตัดกระดาษตอนเป็นเด็ก
-
1:13 - 1:15แล้วพอเป็นวัยรุ่น
-
1:15 - 1:17ฉันก็สเก็ตช์รูป วาดรูป
-
1:17 - 1:19และอยากเป็นศิลปิน
-
1:19 - 1:23แต่ฉันก็เป็นขบถด้วย
-
1:23 - 1:25แล้วฉันก็ทิ้งทุกสิ่ง
-
1:25 - 1:29แล้วไปทำงานแปลก ๆ หลายอย่าง
-
1:29 - 1:31ซึ่งก็มี
-
1:31 - 1:34เป็นคนเลี้ยงแกะ
-
1:34 - 1:36คนขับรถบรรทุก
-
1:36 - 1:38สาวโรงงาน
-
1:38 - 1:40คนทำความสะอาด
-
1:40 - 1:42ฉันทำงานในบริษัทท่องเที่ยวอยู่หนึ่งปี
-
1:42 - 1:44ในเม็กซิโก
-
1:44 - 1:47อีกปีในอียิปต์
-
1:47 - 1:49ย้ายไปอยู่ 2 ปี
-
1:49 - 1:51ที่ไต้หวัน
-
1:51 - 1:53แล้วมาอยู่ที่นิวยอร์คถาวร
-
1:53 - 1:55ซึ่งฉันมาเป็นมัคคุเทศก์
-
1:55 - 1:58และฉันยังทำงานเป็นหัวหน้าทัวร์
-
1:58 - 2:00เดินทางไปกลับ
-
2:00 - 2:03เมืองจีน ทิเบต และเอเชียกลาง
-
2:03 - 2:06แน่นอนว่ามันก็นานอยู่ ฉันเองก็เกือบ 40 แล้ว
-
2:06 - 2:08ฉันก็ตัดสินใจว่าถึงเวลาแล้ว
-
2:08 - 2:11ที่จะเริ่มทำงานอย่างศิลปิน
-
2:12 - 2:17(เสียงปรบมือ)
-
2:17 - 2:19ฉันเลือกการตัดกระดาษ
-
2:19 - 2:21เพราะกระดาษนั้นราคาถูก
-
2:21 - 2:23เบา
-
2:23 - 2:25และเราสามารถใช้ได้
-
2:25 - 2:27หลากหลายรูปแบบ
-
2:27 - 2:31และฉันเลือกรูปแบบของการถมดำ (ซิลูเอ็ต)
-
2:31 - 2:34เพราะมันให้ภาพที่โดดเด่น
-
2:34 - 2:40เป็นการคัดเฉพาะส่วนที่จำเป็นของสิ่งต่าง ๆ
-
2:40 - 2:42คำว่า "ซิลูแอ็ต"
-
2:42 - 2:45มาจากรมต.กระทรวงการคลัง
-
2:45 - 2:48เอเตียน เดอ ซิลูเอ็ต
-
2:48 - 2:52เขาตัดงบประมาณออกมากมาย
-
2:52 - 2:54จนคนบอกกันว่าไม่มีเงิน
-
2:54 - 2:56จะซื้อผลงานจิตรกรรมกันแล้ว
-
2:56 - 2:58แต่ก็ยังอยากได้ภาพวาดของตัวเอง
-
2:58 - 3:00"อย่างซิลูแอ็ต"
-
3:00 - 3:02(เสียงหัวเราะ)
-
3:02 - 3:08ฉันจึงสร้างชุดภาพผลงานตัดกระดาษ
-
3:08 - 3:13และรวบรวมในแฟ้มผลงาน
-
3:13 - 3:15ผู้คนก็บอกฉันว่า
-
3:15 - 3:18อย่างภาพมุมต่าง ๆ ของตึกเอมไพร์ สเตท 36 ภาพนี้
-
3:18 - 3:22พวกเขาบอกว่า "คุณกำลังทำหนังสือศิลปิน"
-
3:22 - 3:25คำว่าหนังสือศิลปินมีความหมายหลายอย่าง
-
3:25 - 3:28มีรูปแบบแตกต่างกันไป
-
3:28 - 3:30แต่สำหรับฉัน
-
3:30 - 3:32มันเป็นสิ่งที่น่าอัศจรรย์มาก
-
3:32 - 3:35ในการเล่าเรื่องออกมาเป็นภาพ
-
3:35 - 3:37จะมีข้อความ
-
3:37 - 3:40หรือไม่มีเลยก็ได้
-
3:40 - 3:42และฉันก็มีความชอบ
-
3:42 - 3:45ทั้งต่อรูปภาพและถ้อยคำ
-
3:45 - 3:47ฉันชอบการเล่นสำนวน
-
3:47 - 3:50และการเชื่อมโยงกับจิตใต้สำนึก
-
3:50 - 3:53ฉันชอบความแปลกของภาษาต่าง ๆ
-
3:53 - 3:55และทุกที่ที่ไปอยู่ ฉันจะเรียนภาษานั้นๆ
-
3:55 - 3:57แต่ไม่ได้เรียนจนเก่งหรอก
-
3:57 - 3:59ฉันจึงมักมองหา
-
3:59 - 4:01คำคล้ายที่มาจากคนละรากศัพท์
-
4:01 - 4:04หรือคำคำเดียวกันในภาษาต่าง ๆ
-
4:04 - 4:07คุณคงเดาได้ว่าภาษาแม่ของฉันคือฝรั่งเศส
-
4:07 - 4:11และภาษาในชีวิตประจำวันคืออังกฤษ
-
4:11 - 4:13ฉันจึงทำผลงานออกมาชุดหนึ่ง
-
4:13 - 4:16เป็นคำที่มีความหมายตรงกัน
-
4:16 - 4:19ในภาษาฝรั่งเศสและอังกฤษ
-
4:19 - 4:21ผลงานชิ้นหนึ่งในนั้น
-
4:21 - 4:23ก็คือ "แมงมุมนักสะกดคำ"
-
4:23 - 4:25แมงมุมนักสะกดคำ
-
4:25 - 4:28เป็นญาติกับผึ้งนักสะกดคำ
-
4:28 - 4:30(เสียงหัวเราะ)
-
4:30 - 4:33แต่มันมีส่วนเกี่ยวข้องกับใยแมงมุมมากกว่า
-
4:33 - 4:35(เสียงหัวเราะ)
-
4:35 - 4:37แมงมุมตัวนี้
-
4:37 - 4:40พลิกไปมา ให้อ่านได้ทั้ง 2 ภาษา
-
4:40 - 4:44จึงอ่านได้ทั้ง "architecture active" (ฝรั่งเศส)
-
4:44 - 4:47หรือ "active architecture" (อังกฤษ)
-
4:47 - 4:50แล้วแมงมุมก็ไต่ไปยังตัวอักษรทั้งชุด
-
4:50 - 4:54ด้วยคุณศัพท์และคำนามที่ความหมายเหมือนกัน
-
4:54 - 4:57ดังนั้นถ้าคุณไม่รู้ภาษาใดภาษาหนึ่ง
-
4:57 - 5:00ก็จะเรียนรู้ได้ทันที
-
5:01 - 5:04และงานเก่าชิ้นหนึ่งจากหนังสือ
-
5:04 - 5:06ก็คือกระดาษม้วน
-
5:06 - 5:09กระดาษม้วนใช้ได้สะดวกมาก
-
5:09 - 5:12เพราะคุณสามารถสร้างภาพใหญ่ๆ ได้
-
5:12 - 5:15บนโต๊ะตัวเล็กๆ
-
5:16 - 5:20ผลที่ไม่ได้คาดคิดจากข้อนั้น
-
5:20 - 5:25คือคุณจะได้เห็นเพียงส่วนหนึ่งของภาพ
-
5:25 - 5:29จึงทำให้เกิดภาพสถาปัตยกรรมแบบฟรีสไตล์
-
5:29 - 5:33และฉันทำหน้าต่างพวกนั้นทั้งหมด
-
5:33 - 5:36จึงต้องมองให้ลึกกว่านั้น
-
5:36 - 5:38มันคือการมอง
-
5:38 - 5:40โลกที่แตกต่างออกไป
-
5:40 - 5:42และบ่อยครั้งที่ฉันเป็นดังคนนอก
-
5:42 - 5:45ฉันจึงอยากเห็นว่าอะไรเป็นอะไร
-
5:45 - 5:47มีอะไรเกิดขึ้น
-
5:47 - 5:49ดังนั้นหน้าต่างแต่ละบาน
-
5:49 - 5:51จึงเป็นภาพหนึ่งภาพ
-
5:51 - 5:53และเป็นโลกหนึ่งใบ
-
5:53 - 5:55ที่ฉันกลับไปเยือนบ่อยๆ
-
5:55 - 5:57และฉันก็กลับมาเยือนโลกใบนี้
-
5:57 - 5:59คิดเรื่องภาพ
-
5:59 - 6:02หรือเรื่องจำเจอย่าง เราอยากทำอะไร
-
6:02 - 6:04ใช้คำว่าอะไร ภาษาถิ่นคืออะไร
-
6:04 - 6:07ที่เราใช้สื่อออกไป
-
6:07 - 6:10มันมีแต่คำว่า "ถ้า"
-
6:10 - 6:15จะเป็นไง "ถ้า" เราได้อยู่ในบ้านบอลลูน
-
6:15 - 6:19คงจะเป็นโลกที่สูงส่งมากสินะ
-
6:19 - 6:24เราคงปล่อยของเสียบนโลกน้อยมาก
-
6:24 - 6:27คงจะเบามาก
-
6:27 - 6:32ดังนั้นบางครั้งฉันก็มองจากข้างใน
-
6:32 - 6:34อย่าง "เมืองแห่งการถือตนเป็นใหญ่"
-
6:34 - 6:37และวงกลมที่อยู่ภายใน
-
6:37 - 6:40บางทีก็เป็นมุมมองเรื่องโลก
-
6:40 - 6:43เพื่อดูรากที่เหมือนกันของเรา
-
6:43 - 6:47และเราจะใช้มันเพื่อล่าฝันได้ยังไง
-
6:47 - 6:49และเรายังสามารถใช้
-
6:49 - 6:51เป็นรังหลบภัยได้ด้วย
-
6:51 - 6:54แรงบันดาลใจของฉัน
-
6:54 - 6:57ก็แตกต่างหลากหลายมาก
-
6:58 - 7:01ฉันได้รับอิทธิพลจากทุกสิ่งที่อ่าน
-
7:01 - 7:04ทุกสิ่งที่ดู
-
7:04 - 7:07ฉันมีบางเรื่องที่เป็นเรื่องตลก
-
7:07 - 7:10อย่าง "จังหวะมรณะ"
-
7:10 - 7:12(เสียงหัวเราะ)
-
7:13 - 7:15แล้วก็มีที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
-
7:15 - 7:17นี่คือ "เมืองลูกกวาด"
-
7:17 - 7:19เป็นประวัติศาสตร์ของน้ำตาล
-
7:19 - 7:21แบบไม่เคลือบน้ำตาล
-
7:21 - 7:24มันมาจากการขายทาส
-
7:24 - 7:27เพื่อสนองการบริโภคของน้ำตาลที่มากเกินจำเป็น
-
7:27 - 7:31ซึ่งก็มีเรื่องราวหวานๆ แทรกอยู่บ้าง
-
7:31 - 7:34บางครั้งฉันก็มีอารมณ์ตอบสนองกับข่าว
-
7:34 - 7:38เช่นแผ่นดินไหวในเฮติ ปี 2010
-
7:40 - 7:43บางที ก็ไม่ใช่เรื่องราวของฉันเอง
-
7:43 - 7:45ผู้คนเล่าถึงชีวิตตัวเองให้ฉันฟัง
-
7:45 - 7:48ความทรงจำ ความปรารถนาของพวกเขา
-
7:48 - 7:51แล้วฉันก็สร้างพื้่นที่ในใจ
-
7:51 - 7:54เปิดช่องทางให้กับเรื่องของพวกเขา
-
7:54 - 7:57เพื่อให้มีที่ให้ย้อนกลับไป
-
7:57 - 8:01เพื่อมองชีวิตพวกเขาและความเป็นไปได้ต่างๆ
-
8:01 - 8:05ฉันเรียกมันว่า "เมืองแห่งฟรอยด์"
-
8:05 - 8:07ฉันคงเล่าให้ฟังได้ไม่หมดทุกภาพ
-
8:07 - 8:11จึงจะให้ดูเพียงส่วนเล็กน้อยจากโลกของฉัน
-
8:11 - 8:13และชื่อภาพ
-
8:13 - 8:16"เมืองดัดแปลง"
-
8:17 - 8:20"เมืองไฟฟ้า"
-
8:22 - 8:26"การเติบโตอย่างบ้าคลั่ง บนโคลัมบัส เซอร์เคิล"
-
8:30 - 8:33"เมืองหินปะการัง"
-
8:34 - 8:38"ใยแห่งเวลา"
-
8:40 - 8:43"เมืองวุ่นวาย"
-
8:45 - 8:48"รบกันรายวัน"
-
8:50 - 8:52"เมืองแห่งความสุข"
-
8:54 - 8:57"เกาะลอย"
-
8:58 - 9:00และถึงจุดหนึ่ง
-
9:00 - 9:03ฉันต้องทำชิ้นงาน "ทั้ง 9 หลา"
-
9:03 - 9:06เป็นงานตัดกระดาษที่ยาว 9 หลาจริง ๆ
-
9:06 - 9:08(เสียงหัวเราะ)
-
9:08 - 9:10ในชีวิตและการตัดกระดาษ
-
9:10 - 9:12ทุกอย่างเชื่อมโยงกัน
-
9:12 - 9:15เรื่องหนึ่งนำไปสู่อีกเรื่องหนึ่ง
-
9:15 - 9:17ฉันยังสนใจ
-
9:17 - 9:19ลักษณะทางกายภาพของรูปแบบนี้
-
9:19 - 9:22เพราะคุณต้องเดินเพื่อจะดูมันให้ครบ
-
9:22 - 9:24สิ่งที่ฉันทำควบคู่
-
9:24 - 9:26ไปกับงานตัดกระดาษ ก็คือการวิ่ง
-
9:26 - 9:28ฉันเริ่มจากรูปเล็กๆ
-
9:28 - 9:30ฉันเริ่มจากไม่กี่ไมล์
-
9:30 - 9:33รูปใหญ่ขึ้น แล้วฉันก็เริ่มวิ่งมาราธอน
-
9:33 - 9:36แล้วก็วิ่ง 50 กิโล 60 กิโล
-
9:36 - 9:41แล้วฉันก็วิ่ง 50 ไมล์ -- อัลตร้ามาราธอน
-
9:41 - 9:44ฉันยังรู้สึกเหมือนกำลังวิ่งอยู่
-
9:44 - 9:46มันเป็นแค่การฝึก
-
9:46 - 9:49เพื่อจะเป็นนักตัดกระดาษระยะไกล
-
9:49 - 9:51(เสียงหัวเราะ)
-
9:51 - 9:55และการวิ่งทำให้ฉันมีกำลังมากขึ้น
-
9:55 - 9:58นี่คือการตัดกระดาษมาราธอน 3 อาทิตย์
-
9:58 - 10:01ที่เดอะ มิวเซียม ออฟ อาร์ทส แอนด์ ดีไซน์
-
10:01 - 10:03ในเมืองนิวยอร์ค
-
10:03 - 10:07ผลงานออกมาเป็น "นรกและสวรรค์"
-
10:07 - 10:10มี 2 ชิ้น สูง 13 ฟุต
-
10:10 - 10:13ติดตั้งอยู่ในสองชั้นของพิพิธภัณฑ์
-
10:13 - 10:15ที่จริงมันเป็นภาพที่ต่อเนื่องกัน
-
10:15 - 10:18ฉันเรียกมันว่า "นรกและสวรรค์"
-
10:18 - 10:22เพราะมันมีทั้งนรกและสวรรค์ในทุกๆ วัน
-
10:22 - 10:24ไม่มีขอบกั้น
-
10:24 - 10:26บางคนเกิดในนรก
-
10:26 - 10:29และฝ่าฟันอุปสรรคจนไปถึงสวรรค์ได้
-
10:29 - 10:31บางคนก็เป็นแบบตรงกันข้าม
-
10:31 - 10:33นั่นคือกรอบ
-
10:33 - 10:35มีโรงงานนรกในนรก
-
10:35 - 10:38มีคนเช่าปีกในสวรรค์
-
10:38 - 10:41แล้วก็มีเรื่องราวของแต่ละคน
-
10:41 - 10:45ซึ่งบางทีเราเองก็ทำสิ่งเดียวกับพวกเขา
-
10:45 - 10:50และมันส่งผลให้คุณไปอยู่ในนรกหรือสวรรค์
-
10:50 - 10:52"นรกและสวรรค์" ทั้งชิ้นนี้
-
10:52 - 10:55เกี่ยวกับเรื่องเจตจำนงเสรี
-
10:55 - 10:57และความเชื่อเรื่องเหตุปัจจัย
-
10:57 - 10:59และในการตัดกระดาษ
-
10:59 - 11:03จะมีตัวภาพโครงสร้างอยู่แล้ว
-
11:03 - 11:06จึงไม่ต้องแขวนชิดกำแพง
-
11:07 - 11:10นี่คือการติดตั้งหนังสือศิลปิน
-
11:10 - 11:13เรียกว่า "งานอัตลักษณ์"
-
11:13 - 11:17ไม่ใช่อัตลักษณ์แบบชีวประวัติ
-
11:17 - 11:21แต่เหมือนอัตลักษณ์ทางสังคมมากว่า
-
11:21 - 11:23คุณสามารถเดินไปด้านหลัง
-
11:23 - 11:25เพื่อทาบกับชิ้นงาน
-
11:25 - 11:27จึงเป็นเหมือนหลายๆ ชั้น
-
11:27 - 11:29ที่ประกอบขึ้นมาเป็นตัวเรา
-
11:29 - 11:31และเอกลักษณ์ที่เราแสดงออก
-
11:31 - 11:33ให้โลกรับรู้
-
11:33 - 11:36มีหนังสือศิลปินอีกชิ้นหนึ่ง
-
11:36 - 11:40ที่จริง อย่างที่เห็นในรูป จะมี 2 ชิ้น
-
11:40 - 11:42ซึ่งเป็นตัวที่ฉันใส่อยู่
-
11:42 - 11:44และตัวที่อยู่ในนิทรรศการ
-
11:44 - 11:46ที่เซ็นเตอร์ ออฟ บุคส์ อาร์ท ในเมืองนิวยอร์ค
-
11:46 - 11:48ทำไมฉันจึงเรียกมันว่าหนังสือ
-
11:48 - 11:50มันมีชื่อว่า "แถลงการณ์ของแฟชั่น"
-
11:50 - 11:52และมีคำคมเกี่ยวกับแฟชั่น
-
11:52 - 11:54ดังนั้นคุณจะได้อ่านมัน
-
11:54 - 11:56แล้วก็
-
11:56 - 11:59เพราะความหมายของหนังสือศิลปิน
-
11:59 - 12:02มันกว้างมาก
-
12:02 - 12:04หนังสือศิลปินจึงไม่ต้องแขวนอยู่บนกำแพง
-
12:04 - 12:06สามารถใส่เดินได้
-
12:06 - 12:09แล้วก็จัดวางเป็นงานศิลปะสาธารณะได้
-
12:09 - 12:12ที่นี่คือสก็อตส์เดล อริโซน่า
-
12:12 - 12:15มีชื่อว่า "ความทรงจำที่ล่องลอย"
-
12:15 - 12:18เป็นความทรงจำที่มีหลายส่วน
-
12:18 - 12:21แล้วมันก็ปลิวไปมาเมื่อลมพัด
-
12:23 - 12:25ฉันชอบศิลปะสาธารณะ
-
12:25 - 12:28แล้วฉันก็เข้าประกวด
-
12:28 - 12:30เป็นเวลานาน
-
12:30 - 12:33หลังโดนปฏิเสธอยู่ 8 ปี
-
12:33 - 12:36ฉันก็ตื่นเต้นมากที่มีคนจ้างเป็นครั้งแรก
-
12:36 - 12:39โดย "เปอร์เซนต์ ฟอร์ อาร์ท" ในนิวยอร์ค
-
12:39 - 12:42เพื่อติดตั้งที่สถานีเชื่อม
-
12:42 - 12:45สำหรับคนทำงานฉุกเฉินและนักดับเพลิง
-
12:45 - 12:48ฉันทำหนังสือศิลปิน
-
12:48 - 12:50ด้วยสเตนเลส
-
12:50 - 12:52แทนกระดาษ
-
12:52 - 12:56ตั้งชื่อว่า "ทำงานในทิศทางเดียวกัน"
-
12:56 - 12:58แต่ฉันติดกังหันทิศทางลมเข้าไปทั้งสองด้าน
-
12:58 - 13:02เพื่อแสดงให้เห็นว่ามันครอบคลุมทุกทิศทาง
-
13:02 - 13:04ด้วยงานศิลปะสาธารณะ
-
13:04 - 13:07ฉันได้ทำกระจกตัด
-
13:07 - 13:10นี่ึคือด้านหน้ากระจกในย่านบรองซ์
-
13:10 - 13:12และทุกครั้งที่ทำงานศิลปะสาธารณะ
-
13:12 - 13:14ฉันอยากทำเรื่องที่เกี่ยวข้อง
-
13:14 - 13:16กับสถานที่นั้นๆ อย่างแท้จริง
-
13:16 - 13:18ดังนั้นสำหรับรถไฟใต้ดินในนิวยอร์ค
-
13:18 - 13:21ฉันเห็นความสอดคล้องกัน
-
13:21 - 13:24ระหว่างการนั่นรถไฟใต้ดิน
-
13:24 - 13:26และการอ่าน
-
13:26 - 13:29มันคือการเดินทางให้ทันเวลา ตรงเวลา
-
13:29 - 13:31และวรรณกรรมของบรองซ์
-
13:31 - 13:33ก็เกี่ยวกับนักเขียนจากย่านบรองซ์
-
13:33 - 13:35และเรื่องราวของพวกเขา
-
13:37 - 13:39งานกระจกอีกชิ้น
-
13:39 - 13:41อยู่ในห้องสมุดสาธารณะ
-
13:41 - 13:44ในซาน โฮเซ่ แคลิฟอร์เนีย
-
13:44 - 13:47ฉันทำเป็นรูปผัก
-
13:47 - 13:49แทนการเติบโตของซาน โฮเซ่
-
13:49 - 13:51ฉันจึงเริ่มจากตรงกลาง
-
13:51 - 13:53ด้วยลูกโอ๊ก
-
13:53 - 13:57แทนอารยธรรมของ โอโลนี่ อินเดียน
-
13:57 - 13:59แล้วก็มีผลไม้จากยุโรป
-
13:59 - 14:01สำหรับคนเลี้ยงสัตว์
-
14:01 - 14:04แล้วก็ผลไม้จากทั่วโลกสำหรับ ซิลิคอน วัลเลย์ ในทุกวันนี้
-
14:04 - 14:06และมันยังโตขึ้นอีกเรื่อยๆ
-
14:06 - 14:09เทคนิคคือการตัด
-
14:09 - 14:11ขัดกระดาษทราย กัดกรด
-
14:11 - 14:15แล้วพิมพ์ลงไปบนกระจกสำหรับอาคาร
-
14:15 - 14:17และด้านนอกห้องสมุด
-
14:17 - 14:21ฉันต้องการสร้างสถานที่อันบ่มเพาะจิตใจ
-
14:21 - 14:24ฉันนำสิ่งที่อยู่ในห้องสมุด
-
14:24 - 14:27ซึ่งมีชื่อผลไม้อยู่ในชื่อเรื่อง
-
14:27 - 14:30นำมาใช้สร้างทางเดินในสวน
-
14:30 - 14:32ด้วยผลไม้แห่งความรู้เหล่านี้
-
14:32 - 14:35ฉันจึงได้ปลูกต้นสมุด
-
14:35 - 14:37มันเป็นต้นไม้
-
14:37 - 14:40ในลำต้นจะเป็นรากแห่งภาษา
-
14:40 - 14:44เกี่ยวกับระบบการเขียนของชาติต่างๆ
-
14:44 - 14:46และบนกิ่งไม้
-
14:46 - 14:49ก็มีสิ่งที่เกี่ยวกับห้องสมุดงอกเงยออกมา
-
14:50 - 14:53คุณจะได้ทั้งการใช้งานและรูปแบบ
-
14:53 - 14:55ด้วยงานศิลปะสาธารณะ
-
14:55 - 14:57ในออโรร่า โคโลราโด เป็นม้านั่ง
-
14:57 - 15:00ซึ่งคุณจะได้โบนัสจากม้านั่งตัวนี้ด้วย
-
15:00 - 15:03เพราะถ้าคุณใส่กางเกงขาสั้น นั่งนานๆ ในฤดูร้อน
-
15:03 - 15:05คุณจะได้ลุกออกไป
-
15:05 - 15:08พร้อมส่วนประกอบของเรื่อง
-
15:08 - 15:10บนต้นขาของคุณ
-
15:10 - 15:13(เสียงหัวเราะ)
-
15:15 - 15:17อีกงานที่ใช้งานได้
-
15:17 - 15:19อยู่ทางใต้ของชิคาโก
-
15:19 - 15:21ของสถานีรถไฟใต้ดิน
-
15:21 - 15:25ชื่อ "วันนี้เมล็ดพันธุ์แห่งอนาคต ได้ถูกบ่มเพาะแล้ว"
-
15:25 - 15:28เป็นเรื่องเกี่ยวกับการเปลี่ยนแแลง
-
15:28 - 15:30และการเชื่อมโยง
-
15:30 - 15:32มันจึงเป็นฉากกั้น
-
15:32 - 15:35เพื่อป้องกันรถไฟและคนเดินทาง
-
15:35 - 15:38และกันไม่ให้ของตกลงไปในรางด้วย
-
15:38 - 15:41เพื่อจะได้เปลี่ยนรั้ว
-
15:41 - 15:44และลูกกรงหน้าต่างเป็นดอกไม้
-
15:44 - 15:46มันวิเศษมาก
-
15:46 - 15:49ฉันทำงานมาได้ 3 ปีแล้ว
-
15:49 - 15:51กับผู้พัฒนาจากเซาธ์ บรองซ์
-
15:51 - 15:53เพื่อนำศิลปะมาสู่ชีวิต
-
15:53 - 15:55สู่อาคารที่มีรายได้น้อย
-
15:55 - 15:58และบ้านในราคาที่พอซื้อได้
-
15:58 - 16:01แต่ละตึกจึงมีบุคลิกส่วนตัว
-
16:01 - 16:05แล้วบางทีก็มีเรื่องมรดกของท้องถิ่น
-
16:05 - 16:09เช่นในมอร์ริซาเนีย เป็นประวัติของดนตรีแจ๊ซ
-
16:09 - 16:12และในงานอื่นๆ อย่างในปารีส
-
16:12 - 16:14เป็นชื่อของถนน
-
16:14 - 16:17เรียกว่า รู เดอ เพรรีส์ -- ถนนกระต่าย
-
16:17 - 16:19ฉันจึงนำกระต่าย
-
16:19 - 16:21แมลงปอ
-
16:21 - 16:23กลับมาอยู่ในถนนสายนั้น
-
16:23 - 16:25แล้วในปี 2009
-
16:25 - 16:28มีคนขอให้่ทำโปสเตอร์
-
16:28 - 16:31เพื่อติดในรถใต้ดินของนิวยอร์ค
-
16:31 - 16:33เป็นเวลา 1 ปี
-
16:33 - 16:37จึงมีแต่ผู้่ชมที่ถูกขังไว้
-
16:37 - 16:41และฉันต้องการทำทางหนีให้พวกเขา
-
16:41 - 16:44ฉันสร้างงาน "ทั่วทั้งเมือง"
-
16:44 - 16:46เป็นงานตัดกระดาษ
-
16:46 - 16:49หลังจากนั้น ก็ใส่สีในคอมพิวเตอร์
-
16:49 - 16:52ฉันเรียกมันว่า งานฝีมือเทคโน
-
16:52 - 16:54และระหว่างทำงานนั้น
-
16:54 - 16:57ฉันทั้งตัดกระดาษไปด้วย
-
16:57 - 16:59ใส่เทคนิคอื่นเข้าไปด้วย
-
16:59 - 17:02แต่ทุกงานก็ทำขึ้นมาเพื่อสร้างเรื่องราว
-
17:02 - 17:05เรื่องราวต่าง ๆ มีความเป็นไปได้
-
17:05 - 17:07มีเรื่องสมมุติมากมาย
-
17:07 - 17:09ฉันไม่ได้รู้เรื่องราว
-
17:09 - 17:13ฉันได้รูปจากการจินตนาการถึงโลกกว้าง
-
17:13 - 17:15จากสิ่งจำเจ สิ่งที่เรากำลังคิด
-
17:15 - 17:17จากประวัติศาสตร์
-
17:17 - 17:19และทุกคนก็เป็นนักเล่าเรื่อง
-
17:19 - 17:22เพราะทุกคนมีเรื่องที่จะเล่า
-
17:22 - 17:24แต่ที่สำคัญกว่านั้น
-
17:24 - 17:26คือทุกคนต้องสร้างเรื่องราว
-
17:26 - 17:28เพื่อเล่าเรื่องของโลกใบนี้
-
17:28 - 17:30และในทุกๆ ภพ
-
17:30 - 17:33มันเหมือนจินตนาการคือพาหนะ
-
17:33 - 17:35เพื่อร่วมทางไปด้วย
-
17:35 - 17:38แต่จุดหมายของจิตใจของเรา
-
17:38 - 17:40และวิธีที่จะระลึกถึง
-
17:40 - 17:42ด้วยเนื้อแท้และสิ่งวิเศษ
-
17:42 - 17:45และนี่คือเรื่องราวของการตัดกระดาษค่ะ
-
17:46 - 17:54เสียงปรบมือ
- Title:
- เบอาทริซ โกรอง : เรื่องราวที่ตัดจากกระดาษ
- Speaker:
- Béatrice Coron
- Description:
-
เบอาทริซ โกรองใช้กรรไกรและกระดาษสร้างสรรค์โลกอันซับซ้อน เมือง-ชนบท สวรรค์-นรก ปรากฎตัวในผ้าครุมอลังการตัดจากไทเว็ค เธอได้อธิบายขั้นตอนการรังสรรค์งานและวิธีดำเนินเรื่องเรื่องจากการตัดและหั่น
- Video Language:
- English
- Team:
closed TED
- Project:
- TEDTalks
- Duration:
- 17:55