< Return to Video

สมการของเส้นสัมผัส

  • 0:00 - 0:01
    -
  • 0:01 - 0:05
    ผมบอกคุณหลายครั้งแล้วว่า อนุพันธ์ของเส้นโค้ง
  • 0:05 - 0:08
    ณ จุดนึง คือความชันของเส้นสัมผัส แต่เพื่อน
  • 0:08 - 0:10
    ของเรา อะโคช
  • 0:10 - 0:13
    ส่งโจทย์ใฟ้ผม โดยเขาอยากให้คุณหา
  • 0:13 - 0:14
    สมการของเส้นสัมผัส
  • 0:14 - 0:16
    และผมก็รู้สึกตัวว่า ผมยังไม่เคยทำมันเลย
  • 0:16 - 0:17
    ดังนั้นมันคุ้มแล้ว
  • 0:17 - 0:18
    มาลองทำดู
  • 0:18 - 0:21
    โจทย์บอกว่า จงหาสมการของเส้นสัมผัส
  • 0:21 - 0:35
    ของ f ของ x เท่ากับ x e กำลัง x ที่ x เท่ากับ 1
  • 0:35 - 0:37
    งั้นลองเข้าใจกันก่อนว่าเรากำลังหาอะไรอยู่
  • 0:37 - 0:41
    ฟังก์ชันนี้จะมีหน้าตาแบบ ที่จริงผม
  • 0:41 - 0:44
    วาดกราฟมาก่อน เพราะมันไม่ใช่ฟังก์ชันง่าย ๆ ที่จะวาดได้
  • 0:44 - 0:47
    งั้นนี่คือ x e กำลัง x มันหนาตาแบบนี้
  • 0:47 - 0:49
    ผมแค่ใช้เครื่องคิดเลขแบบวาดกราฟได้ และคุณก็เห็น
  • 0:49 - 0:51
    ผมแค่พิมพ์มันลง
  • 0:51 - 0:53
    และนี่คือสิ่งที่เขาถามเรา โอเค
  • 0:53 - 0:54
    ณ จุดนั้น x เท่ากับ 1
  • 0:54 - 0:56
    นี่คือจุด x เท่ากับหนึ่ง
  • 0:56 - 0:59
    ดังนั้น f ของ x จะอยู่สักที่ตรงนี้ และที่จริง
  • 0:59 - 1:03
    f ของ x จะเท่ากับ e จริงไหม?
  • 1:03 - 1:08
    เพราะ f ของ 1 เท่ากับอะไร?
  • 1:08 - 1:10
    1 คูณ e กำลัง 1
  • 1:10 - 1:11
    นั่นเท่ากับ e
  • 1:11 - 1:15
    ดังนั้นเรากำลังบอกว่า ณ จุดนั้น ณ จุด 1 ลูกน้ำ e
  • 1:15 - 1:18
    จุด 1 ลูก 2.71 อะไรก็ช่าง
  • 1:18 - 1:19
    นั่นคือจุดไหน?
  • 1:19 - 1:21
    นั่นคือจุดนี้
  • 1:21 - 1:22
    มันอยู่ตรงนี้
  • 1:22 - 1:26
    2 จุด นี่คือ e ตรงนี้ จุด 1 ลูกน้ำ e
  • 1:26 - 1:29
    งั้นที่เราอยากทำคือ หาสมการของเส้น
  • 1:29 - 1:32
    สัมผัสตรงจุดนี้
  • 1:32 - 1:34
    ดังนั้นที่เราจะทำคือ เราจะแก้มันด้วย
  • 1:34 - 1:36
    การหาความชัน ซึ่งก็คืออนุพันธ์
  • 1:36 - 1:36
    ณ จุดนนั้น
  • 1:36 - 1:38
    งั้นเราต้องหาอนุพันธ์ ณ
  • 1:38 - 1:39
    จุดนี้พอดี
  • 1:39 - 1:41
    แล้วเราก็ใช้สิ่งที่เรียนจากพีชคณิต 1 เพื่อหา
  • 1:41 - 1:44
    สมการนี้ และเราจะวาดมัน เพื่อตรวจสอบ
  • 1:44 - 1:48
    ว่าเราหาสมการเส้นสัมผัสได้จริง
  • 1:48 - 1:51
    งั้นสิ่งแรกที่เราอยากรู้คือ ความชันของ
  • 1:51 - 1:55
    เส้นสัมผัส และนั่นก็แค่อนุพันธ์ ณ จุดนี้
  • 1:55 - 1:58
    เมื่อ x เท่ากับ 1 หรือ จุด 1 ลูกน้ำ e
  • 1:58 - 2:00
    แล้วอนุพันธ์ของนี่เป็นเท่าไหร่?
  • 2:00 - 2:03
    f ไพรม์ของ x
  • 2:03 - 2:07
    f ไพรม์ของ x เท่ากับ ทีนี้ นี่ดูเหมือนต้อง
  • 2:07 - 2:09
    ใช้กฏผลคูณ
  • 2:09 - 2:11
    เพราะเรารู้วิธีหาอนุพันธ์ของ x เรารู้
  • 2:11 - 2:13
    วิธีหาอนุพันธ์ของ e กำลัง x
  • 2:13 - 2:14
    และมันคูณกันอยู่
  • 2:14 - 2:16
    ดังนั้นกฏลูกโซ่ช่วยเราได้
  • 2:16 - 2:18
    อนุพันธ์ของสิ่งนี้จะเท่ากับ
  • 2:18 - 2:20
    อนุพันะ์ของพจน์แรกของฟังก์ชัน
  • 2:20 - 2:21
    อันแรก
  • 2:21 - 2:26
    อนุพันธ์ของ x ก็แค่ 1 คูณฟังก์ชันที่สอง
  • 2:26 - 2:32
    คูณ e กำลัง x บวกฟังก์ชันแรก x คูณอนุพันธ์
  • 2:32 - 2:34
    ของฟังก์ชันที่สอง
  • 2:34 - 2:36
    แล้วอนุพันธ์ของ e กำลัง x คืออะไร?
  • 2:36 - 2:40
    และนั่นคือสิ่งที่ผมว่ามันอัศจรรย์มากเกี่ยวกับ e หรือ
  • 2:40 - 2:42
    ฟังก์ชัน e กำลัง x คือว่า อนุพันธ์ของ e
  • 2:42 - 2:44
    กำลัง x เท่ากับ e กำลัง x
  • 2:44 - 2:46
    ความชัน ณ จุดใด ของเส้นโค้งนี้ เท่ากับ
  • 2:46 - 2:48
    ค่าของฟังก์ชันเอง
  • 2:48 - 2:50
    นี่ก็คืออนุพันธ์
  • 2:50 - 2:53
    และอนุพันธ์ของฟังก์ชันนี้ ที่ x เท่ากับ 1
  • 2:53 - 2:56
    หรือจุด 1 ลูกน้ำ e เป็นเท่าไหร่?
  • 2:56 - 2:57
    เราก็แค่แทนค่าลงไป
  • 2:57 - 3:06
    เราบอกว่า f ไพรม์ของ a เท่ากับ 1 คูณ e กำลัง 1 บวก 1 คูณ
  • 3:06 - 3:11
    e กำลัง 1 ทีนี้ นั่นก็จะเท่ากับ e กำลัง e
  • 3:11 - 3:15
    และนั่นจะเท่ากับ 2 e
  • 3:15 - 3:17
    และคุณก็รู้ เราสามารถหาเลขนั้นได้ e ก็แค่
  • 3:17 - 3:20
    เลขคงที่ แต่เราเขียน e เพราะมันเขียนง่าย
  • 3:20 - 3:24
    กว่า 2.7 อะไรสักอย่าง ทศนิยมไม่รู้จบพวกนั้น
  • 3:24 - 3:25
    เราแค่เขียน 2e
  • 3:25 - 3:29
    ดังนั้นนี่คือความชันของสมการ หรือนี่คือความชัน
  • 3:29 - 3:32
    ของเส้นโค้งเมื่อ x เท่ากับหนึ่ง หรือ ณ จุด
  • 3:32 - 3:35
    1 e หรือ 1 f ของ 1
  • 3:35 - 3:39
    แล้วสมการของเส้นสัมผัสคืออะไร?
  • 3:39 - 3:41
    ลองทำดูและใช้รูปแบบนี้ สมการจะเป็น
  • 3:41 - 3:45
    y เท่ากับ ผมเขียนมันในรูป คุณก็รู้
  • 3:45 - 3:49
    ไม่ใช่ จุด ความชัน mx บวก b ที่คุณ
  • 3:49 - 3:50
    เรียนในพีชคณิต
  • 3:50 - 3:53
    งั้นความชันจะเป็น 2e
  • 3:53 - 3:53
    เราเพิ่งหามันได้
  • 3:53 - 3:56
    นั่นคืออนุพันธ์เมื่อ x เท่ากับ 1
  • 3:56 - 4:02
    ดังนั้น 2e คูณ x บวก ค่าตัดแกน y
  • 4:02 - 4:04
    ดังนั้นหากเราหาได้ค่าตัดแกน y ของ
  • 4:04 - 4:05
    เส้นตรงนี้ได้ เราก็จบ
  • 4:05 - 4:09
    เราก็หาสมการของเส้นสัมผัสได้
  • 4:09 - 4:11
    แล้วเราจะหามันอย่างไร?
  • 4:11 - 4:14
    ทีนี้ หากเรารู้ y หรือ x ที่สมการนี้
  • 4:14 - 4:16
    ลากผ่าน เราก็แก้หา b ได้
  • 4:16 - 4:20
    และเรารู้ y กับ x คู่หนึ่งที่เป็นไปสมการนี้
  • 4:20 - 4:22
    นั่นคือจุด 1 ลูกน้ำ e
  • 4:22 - 4:26
    จุดที่เราพยายามหาเส้นสัมผัส จริงไหม?
  • 4:26 - 4:28
    ดังนั้นจุดนี้ 1 ลูกน้ำ e นี่คือที่ที่เราอยาก
  • 4:28 - 4:30
    หาเส้นสัมผัส
  • 4:30 - 4:31
    และตามนิยาม เส้นสัมผัสจะเ
  • 4:31 - 4:33
    ผ่านจุดนั้น
  • 4:33 - 4:37
    งั้นลองแทนจุดพวกนี้ลงไป หรือแทนจุดนี้
  • 4:37 - 4:41
    ลงในสมการนนี้ แล้วแก้หา b
  • 4:41 - 4:48
    ดังนั้น y เท่ากับ e เท่ากับ 2 e นั่นก็แค่ความชัน ณ
  • 4:48 - 4:52
    จุดนั้ัน คูณ x คูณ 1 บวก b
  • 4:52 - 4:56
    คุณอาจงง เพราะ e คุณอาจบอกว่า โอ้ e
  • 4:56 - 4:56
    นั่นเป็นตัวแปรหรือเปล่า?
  • 4:56 - 4:58
    ไม่ใช่ มันเป็นตัวเลข จำไว้ เหมือนกับ pi
  • 4:58 - 4:58
    มันเป็นแค่เลข
  • 4:58 - 5:01
    คุณสามารถแทน 2.7 อะไรก็ช่าง แต่เราไม่ทำ
  • 5:01 - 5:02
    เพราะนี่สะอาดกว่า
  • 5:02 - 5:03
    ลองแก้ดู
  • 5:03 - 5:08
    คุณจะได้ e เท่ากับ 2e บวก b
  • 5:08 - 5:10
    ลองลบ 2e จากทั้งสองข้าง
  • 5:10 - 5:13
    คุณจะได้ b เท่ากับ e ลบ 2e
  • 5:13 - 5:16
    b เท่ากับลบ e
  • 5:16 - 5:17
    แล้วก็เสร็จแล้ว
  • 5:17 - 5:22
    สมการของเส้นสัมผัสคืออะไร?
  • 5:22 - 5:30
    มันคือ y เท่ากับ 2 คูณ e x บวก b
  • 5:30 - 5:33
    แต่ b เท่ากับ ลบ e นั่นคือ ลบ e
  • 5:33 - 5:36
    แล้วนี่ก็คือสมการของเส้นสัมผัส
  • 5:36 - 5:38
    หากคุณไม่ชอบ e พวกนี้ คุณสามารถแทนมัน
  • 5:38 - 5:41
    ด้วย 2.7 อะไรสักอย่าง และนี่ควรเป็น 5 จุด
  • 5:41 - 5:44
    อะไรสักอย่าง และนี่ควรเป็น ลบ 2.7 อะไรสักอย่าง
  • 5:44 - 5:45
    แต่นี่ดูเนี๊ยบกว่า
  • 5:45 - 5:46
    และลองตรวจกัน
  • 5:46 - 5:50
    ลองใช้เครื่องคิดเลขวาดกราฟได้อันนี้ เพื่อตรวจว่า
  • 5:50 - 5:53
    นั่นใช้สมการเส้นสัมผัสจริงหรือไม่
  • 5:53 - 5:55
    ขอผมพิมพ์มันลงไปนะ
  • 5:55 - 6:13
    นั่นคือ 2, 2 คูณ e คูณ x ใช่ นั่นคือ 2ex ลบ e
  • 6:13 - 6:17
    ลองวาดกราฟของเส้นตรงนี้กัน
  • 6:17 - 6:18
    ได้แล้ว
  • 6:18 - 6:19
    มันวาดแล้ว
  • 6:19 - 6:23
    และดูไว้ เส้นตรงนั่น เส้นตรงสีเขียว ผมไม่รู้
  • 6:23 - 6:25
    คุณเห็นไหม บางที ผมอาจต้องทำให้ใหญ่หน่อย
  • 6:25 - 6:27
    เส้นหนาหน่อย
  • 6:27 - 6:28
    ผมไม่รู้ว่ามันช่วยหรือเปล่า
  • 6:28 - 6:31
    -
  • 6:31 - 6:34
    แต่หากคุณดูตรงนี้ สีแดงนี่ นี่คือสมการดั้งเดิม
  • 6:34 - 6:37
    x e กำลัง x นั่นคือเส้นโค้งนี่
  • 6:37 - 6:41
    เราอยากรู้สมการของเส้นสัมผัส
  • 6:41 - 6:43
    ที่ x เท่ากับ 1
  • 6:43 - 6:44
    งั้นนี่คือจุด x เท่ากับ 1
  • 6:44 - 6:48
    และเมื่อ x เท่ากับ 1, f ของ x คือ e, ใช่ คุณสามารถแทน
  • 6:48 - 6:50
    มันกลับลงในสมการเดิมและได้ค่ามา
  • 6:50 - 6:53
    งั้นนี่คือจุด 1 ลูกน้ำ e
  • 6:53 - 6:55
    ดังนั้สมการของเส้นสัมผัส ความชันจะ
  • 6:55 - 6:57
    เท่ากับอนุพันธ์ ณ จุดนี้
  • 6:57 - 7:00
    เราได้แก้หาอนุพันธ์ของฟังก์ชันนี้ และแทน
  • 7:00 - 7:03
    ค่าที่ x เท่ากับ 1
  • 7:03 - 7:04
    นั่นคือสิ่งที่เราทำไป
  • 7:04 - 7:07
    เราหาอนุพันธ์ได้ แทนค่าที่ x เท่ากับ 1
  • 7:07 - 7:10
    แล้วเราก็บอกว่า โอเค ความชัน
  • 7:10 - 7:16
    ความชันเมื่อ x เท่ากับ 1 และ y เท่ากับ e
  • 7:16 - 7:19
    ความชัน ณ จุดนั้นเท่ากับ 2e
  • 7:19 - 7:21
    แล้วเราหามันได้จากอนุพันธ์
  • 7:21 - 7:24
    แล้วเราก็ใช้ทักษะจากพีชคณิต 1 หา
  • 7:24 - 7:25
    สมการเส้นตรงนั้น
  • 7:25 - 7:26
    แล้วเราหามายังไงนะ?
  • 7:26 - 7:28
    เรารู้ความชัน เพราะนั่นก็แค่อนุพันะ์
  • 7:28 - 7:29
    ณ จุดนั้น
  • 7:29 - 7:33
    เราก็แค่แก้หาค่าตัดแกน y
  • 7:33 - 7:36
    และวิธีที่เราทำคือ เราบอกว่า จุด 1 ลูกน้ำ e
  • 7:36 - 7:38
    นั้นอยู่บนเส้นตรงสีเขียวเช่นกัน
  • 7:38 - 7:41
    ดังนั้นเราก็แทนมันลงไป แล้วแก้หาค่าตัดแกน y
  • 7:41 - 7:44
    ซึ่งเราได้ ลบ e และสังเกตว่า เส้นตรงนี้
  • 7:44 - 7:47
    ตัดแกน y ที่ลบ e นั่นประมาณ ลบ
  • 7:47 - 7:48
    2.7 อะไรสักอย่าง
  • 7:48 - 7:49
    แล้วเราก็ได้อย่างนั้น
  • 7:49 - 7:53
    เราได้แสดง ด้วยภาพอีกด้วย ว่า
  • 7:53 - 7:55
    นี่คือเส้นสัมผัส
  • 7:55 - 7:59
    เอาล่ะ หวังว่าคุณคงเห็นว่ามันมีประโยชน์นะ
  • 7:59 - 8:01
    หากคุณคิดว่ามีประโยชน์ ก็ขอบคุณอะโคชด้วย
  • 8:01 - 8:05
    ที่ยังอยู่และบอกให้ผมทำโจทย์นี้
  • 8:05 - 8:07
    แล้วพบกันในวิดีโอหน้าครับ
Title:
สมการของเส้นสัมผัส
Description:

การหาสมการของเส้นสัมผัสของ f(x)=xe^x เมื่อ x=1

more » « less
Video Language:
English
Duration:
08:07
conantee added a translation

Thai subtitles

Revisions