-
ยินดีต้อนรับสู่บทเรียนล็อกการิทึม
-
ก็ยังดีที่อย่างน้อยได้เห็นมันครั้งหนึ่ง
-
ขอผมให้อุปกรณ์ pen tool ทำงานก่อนนะ
-
ลอกการิทึม
-
ผมสะกดคำนี้ผิดบ่อยเหมือนกันครับ
-
วันก่อน ผมไปที่ MIT และคนที่ทำงานที่นั่นคนหนึ่ง
-
เขาเขียน ล็อกกาไรทึม
-
เขียนเหมือน (rhythm) ที่แปลว่าคำพ้องน่ะครับ
-
แต่ยังไงก็ตาม เลิกพูดนอกเรื่องดีกว่า
-
แล้วอะไรคือลอกการิทึมกันล่ะ
-
คือ...วิธีที่ง่ายที่สุดที่จะอธิบายความหมายของลอกการิทึม
-
คือโดยการบอกว่า มันคือส่วนกลับของ
-
เลขยกกำลังของเลขตัวหนึ่ง
-
ให้ผมอธิบายใหม่
-
ถ้าสมมุติว่าสองยกกำลังสาม...ซึ่งเราก็รู้แล้วว่า
-
โดยหลักของเลขยกกำลังแล้ว
-
สองยกกำลังสามจะเท่ากับแปด
-
และอีกครั้ง ที่ผมเขียนคือเลขสองนะ ไม่ใช่z
-
สองกำลังสามได้แปด ซึ่งผลก็ออกมาว่า
-
ล็อก...ซึ่งล็อกก็ย่อมาจากล็อกการิทึม
-
ส็อกฐานสองของแปดเท่ากับสาม
-
ผมคิดว่าตอนคุณเห็นสิ่งที่ผมกำลังทำอยู่ คุณคงจะพูดว่า "โอ๊
-
มันเริ่มดูมีเหตุผลขึ้นมาบ้างแล้ว"
-
สิ่งที่ผมจะพูดคือ ถ้าผมถามคุณว่าล็อกฐานสองของ
-
แปดคืออะไร มันก็ถามเหมือนสองยกกำลังอะไนเท่ากับแปดน่ะแหละ
-
ดังนั้น คำตอบสำหรับล็อกการิทึม เราจะบอกได้ว่าคำตอบของ
-
นิพจน์ล็อกการิทึมหรือถ้าเราจะวิเคราะห์นิพจน์ล็อกการิทึมนี้
-
คุณก็ควรจะหาตัวเลขที่เป็นเลขชี้กำลัง
-
ที่มีฐานสองและได้คำตอบเป็นแปดน่ะแหละ
-
และคำตอบที่ได้ (พูดอีกครั้ง) คือสาม
-
เดี๋ยวผมจะยกตัวอย่างอีกซักสองสามข้อ คุณจะได้เข้าใจมากขึ้น
-
ถ้าผมจะบอกล็อก...(ปากกาผมมันเป็นอะไรเนี่ย!)
-
ล็อกฐานสี่ของหกสิบสี่เท่ากับx
-
อีกวิธีที่จะเขียนสมการเดียวกัน จะเขียนไดว่าสี่
-
ยกกำลังxได้เท่ากับหกสิบสี่
-
พูดให้ง่ายขึ้น สี่ยกกำลังอะไร
-
เท่ากับหกสิบสี่
-
เราก็รู้แล้วว่าสี่ยกกำลังสามได้หกสิบสี่
-
ดังนั้น ในกรณีนี้ xจึงเท่ากับสาม
-
และล็อกฐานสี่ของหกสิบสี่เท่ากับสามนั่นเอง
-
ให้ผมยกตัวอย่างอีกหน่อย และผมคิดว่ายิ่งคุณเห็น
-
ตัวอย่างมากเท่าไหร่ คุณก็จะเริ่มเห็นภาพตามมากขึ้นเท่านั้น
-
ลอกการิทึมเป็นหลักการคิดที่ง่าย แต่คนมักจะสับสนง่าย
-
เพราะมันเป็นส่าวนกลับของการยกกำลัง
-
ซึ่งการยกกำลังนี่มันก็น่าสับสนพออยู่แล้วแหละ
-
ตัวอย่างต่อมา ล็อกฐานสิบของ (เอาเป็นว่า) หนึ่งล้านล่ะกัน
-
ใส่จุลภาคลงไปด้วย จะได้ไม่สับสน
-
และสมการนี้เท่ากับ...เครื่องกมายคำถาม
-
สิ่งเดียวที่เราต้องถามตังเองคือ สิบยกกำลังเท่าไหร่
-
เท่ากับหนึ่งล้าน
-
และสิบยกกำลังอะไรก็ตาม คำตอบที่ได้คือหนึ่ง
-
ตามด้วยกำลัง...เอ่อ ถ้าคุณบอกว่าสิบยกกำลังห้า คำตอบที่ได้จะเท่ากับ
-
หนึ่งตามด้วยเลขศูนย์ห้าตัว
-
แต่คำตอบของเราคือหนึ่งตามด้วยศูนย์หกตัว คำตอบที่ได้ก็ประมาณเดียวกัน
-
คือสิบยกกำลังหก (ตามจำนวนเลขศูนย์)
-
ดังนั้น สิบกำลังหกจึงเท่ากับหนึ่งล้าน
-
และเพราะสิบบกกำลังหกนั้นเท่ากับล็อกฐานหนึ่งล้าน
-
สิบของหนึ่งล้านจึงเท่ากับหก
-
จำไว้ว่า หกตือเลขชี้กำลังที่มีฐานเป็นสิบ
-
และได้คำตอบเป็นหนึ่งล้าน
-
ผมรู้ว่าว่ามันมีเป็นร้อยวิธีที่ผมจะยกตัวอย่าง
-
แต่ผมก็หวังง่าสองสามตัวอย่างจากล้านกว่ารูปแบบ
-
ที่ผมกำลังอธิบายนั้นจะทำให้คุณเข้าใจได้
-
ลองทำอีกหน่อยล่ะกัน
-
จริงๆแล้ว ผมจะลองยกโจทย์ที่น่าสับสนอยู่หน่อยโจทย์หนึ่ง
-
ล็อกฐานหนึ่งส่วนสองของหนึ่งส่วนแปด
-
เท่ากับx
-
ลองทวนความจำตัวเองหน่อย
-
หนึ่งส่วนสอง...เอ่อ
-
หนึ่งส่วนสอง
-
ผมลืมใส่เครื่องหมายวงเล็บ
-
โอเค xเป็นเลขยกกำลัง(ที่มีฐานหยึ่งส่วนสอง)เท่ากับหนึ่งส่วนแปด
-
เรารู้ว่าหนึ่งส่วนสองกำลังสามเท่ากับหนึ่งส่วนแปดแล้ว
-
ดังนั้นล็อกฐานหนึ่งส่วนสองของหนึ่งส่วนแปดจึงเท่ากับสาม
-
เดี๋ยวยกตัวอย่างต่ออีกหน่อย
-
ผมจะจับมันยำซักเล็กน้อย (คุณจะได้ฝึกคิดไปด้วยไง)
-
ล็อกฐานxของยี่สิบเจ็บเท่ากับสาม
-
อะไรคือxล่ะ
-
เหมือนอย่างที่ผมเคยทำ คือเท่ากับxยกกำลัง
-
สามเท่ากับยี่สิบเจ็ด
-
หรือxเท่ากับรากที่สามของยี่สิบเจ็ด
-
ซึ่งเราก็รู้ว่าxคือตังเลขตัวหนึ่งที่คูณตังเองสามครั้ง
-
และได้เท่ากับยี่สิบเจ็ด
-
ถึงตอนนี้แล้ว คุณคงรู้แล้วว่า
-
ตัวเลขนั้นคือสาม
-
x เท่ากับสามนั่นแหละ
-
ซึ่งเราจะเขียนได้ว่าล็อกฐานสามของยี่สิบเจ็ดเท่ากับสาม
-
ผมจะลองยกอีกตัวอย่าง
-
ที่ผมใช้ตัวเลขไม่มากเพราะผมไม่มี
-
เครื่องคิดเลขและผมค้องคำนวณในใจ
-
อะไรคือล็อกของ...ให้ผมคิดก่อน
-
อะไรคือล็อกของฐานหนึ่งร้อยของหนึ่ง
-
นี่เป็นคำถามลวง
-
อีกครั้ง ให้ลองสมมุติว่ามันเท่ากับ
-
เครื่องหมายคำถาม
-
เปลี่ยนล็อกฐานหนึ่งร้อยของหนึ่งเท่ากับเคครื่องหมายคำถาม
-
เป็นหนึ่งร้อยยกกำลังด้วยเครื่องหมายคำถาม
-
เท่ากับหนึ่ง
-
เอาล่ะ ต้องยกกำลังด้วยอะไรล่ะทีนี้ สมมุติเรามีตัวเลขใดๆ
-
และเราต้องยกกำลังมันด้วยอะไรจึงจะเท่ากับหนึ่งล่ะ
-
ถ้าคุณยังจำได้จากกฎของเลขยกกำลัง (ถ้าจำไม่ได้ก็ไม่เป็นไร)
-
กฎของเลขยกกำลังมีอยู่ว่าอะไรที่
-
ยกกำลังศูนย์จะเท่ากับหนึ่ง
-
ซึ่งเราก็จะได้ว่าหนึ่งร้อยยกกำลังศูนย์เท่ากับหนึ่ง
-
และเราจะบอกได้ว่าล็อกฐานหนึ่งร้อยหนึ่งร้อยของหนึ่งเท่ากับศูนย์
-
เพราะหนึ่งร้อยยกกำลังศูนย์เท่ากับหนึ่ง
-
ผมจะถามอีกคำถาม
-
อะไรเท่ากับ ผมจะถามเป็นล็อกนะ ล็อกฐานสองของศูนย์
-
ใช่ มันเท่ากับเท่าไหร่
-
ผมถามว่าสอง สมมุติ
-
ว่าคำตอบตือx
-
สองยกกำลังxเท่ากับศูนย์
-
อะไรคือx
-
แหม มีอะไรที่สองยกกำลังด้วย
-
และได้ศูนย์บ้างล่ะ?
-
ไม่มี
-
ดังคำตอบคือ "บอกไม่ได้"
-
บอกไม่ได้ก็คือไม่มีคำตอบน่ะแหละ
-
ไม่มีอะไรที่ผมจะยกกำลังสองด้วย
-
และได้ศูนย์
-
เครือๆกัน ถ้าผมขอให้คุณล็อกฐานสามของ
-
ประมาณว่า ลบหนึ่งล่ะกัน
-
สมมุติว่าเราเรากำลังแก้โจทย์ที่เป็นจำนวนจริง
-
ซึ่งเป็นเลขส่วนใหญ่ ณ ตอนนี้
-
อืม...
-
ไม่มีเลขอะไรที่ผมจะยกกำลังสามด้วย
-
และได้ติดลบเลย นี่ก็ไม่มีคำตอบอีกเช่นเคย
-
ตราบใดที่ฐานเป็นค่าบวก
-
เลขชี้กำลังต้องเอ่อ...
-
อืม...
-
มากกว่าศูนย์แหละ!!
-
ใช่เลย
-
เป็นศูนย์หรือค่าติดลบก็ไม่ได้
-
เอานะ เอาโจทย์อีกซักหน่อย
-
ผมยังเหลือซักประมาณนาทีครึ่ง
-
คุณได้มาที่สไลด์ล็อกการิทึมอันดับที่หนึ่งแล้ว
-
เอาอีกหน่อยล่ะกัน
-
อะไรคือล็อกฐานแปด (ให้มันยาก-
-
-หน่อยล่ะกัน) ของหนึ่งส่วนหกสิบสี่
-
น่าสนใจนะว่ามั๊ย
-
เรารู้ว่าล็อกฐานแปดของหกสิบสี่จะเท่ากับสอง ใช่มั๊ย
-
เพราะแปดกำลังสองเท่ากับหกสิบสี่
-
แต่แปดกำลังอะไรเท่ากับหนึ่งส่วนหกสิบสี่ล่ะ
-
เราเรียนมาแล้วจากสไลด์เลขยกกำลังติดลบว่า
-
ค่ามันต้องเท่ากับติดลบสอง
-
ถ้ายังจำกันได้นะ แปดยกกำลังติดลบสองก็รูปแบบเดียวกันแหละ
-
อย่างหนึ่งส่วนแปดยกกำลังสองเนี่ย
-
หนึ่งส่วนแปดกำลังสองเท่ากับหนึ่งส่วนหกสิบสี่
-
น่าสนใจจริง
-
ผมจะปล่อยให้คุณลองพิจารณาดู
-
ไม่คุณเอาว่วนกลับของเลขใดๆ
-
ที่คุณทำล็อกด้วยแล้ว คำตอบจะได้เป็นติดลบ
-
แล้วเราจะได้ทำโจทย์ล็อกการิทึมและเรียนรู้กันอีกเยอะ
-
คุณสมบัติเพิ่มตัวจากสไลด์หน้า
-
แต่ผมว่าคุณคงพร้องแล้วสำหรับระดับแรก
-
โจทย์ล็อกการิทึมทั้งหลายแหล่
-
เจอกันสไลด์หน้า