< Return to Video

Gibbs Free Energy Example

  • 0:00 - 0:00
  • 0:00 - 0:03
    ผมมีปฏิกิริยานี่ตรงนี้ โดยผมมีเมธเธน
  • 0:03 - 0:06
    1 โมล และผมทำปฏิกิริยา
    กับออกซิเจน 2 โมล ผมจะ
  • 0:06 - 0:08
    ผลิตคาร์บอนไดออกไซด์ 1 โมลกับ
  • 0:08 - 0:10
    น้ำ 2 โมล
  • 0:10 - 0:12
    และสิ่งที่เราอยากตอบในวิดีโอนี้คือว่า
  • 0:12 - 0:15
    ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นเองได้ไหม
  • 0:15 - 0:17
    และเราเรียนไปในวิดีโอที่แล้วว่า เวลาตอบ
  • 0:17 - 0:20
    คำถามนั้น เราต้องไปดูพลังงานเสรีกิบส์ หรือ
  • 0:20 - 0:22
    การเปลี่ยนแปลงพลังงานเสรีกิบส์
  • 0:22 - 0:25
    การเปลี่ยนแปลงพลังงานเสรีกิบส์เท่ากับ
  • 0:25 - 0:29
    การเปลี่ยนแปลงเอนธาลปีสำหรับปฏิกิริยา
    ลบอุณหภูมิ
  • 0:29 - 0:33
    ที่มันเกิดขึน คูณการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปี
  • 0:33 - 0:36
    และถ้าค่านี้น้อยกว่า 0 มันจะเป็น
  • 0:36 - 0:39
    ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเอง
  • 0:39 - 0:42
    ผมเริ่มต้นให้บ้างแล้ว
  • 0:42 - 0:46
    ผมคำนวณการเปลี่ยนแปลงเอนธาลปี
    สำหรับปฏิกิริยานี้มาแล้ว
  • 0:46 - 0:48
    มันอยู่ตรงนี้
  • 0:48 - 0:48
    และเรารู้วิธีทำแล้ว
  • 0:48 - 0:50
    เราทำไปหลายวิดีโอก่อนแล้ว
  • 0:50 - 0:53
    คุณแค่หาความร้อนของการเกิดในผลิตภัณฑ์
  • 0:53 - 0:55
    แต่ละอย่างเหล่านี้
  • 0:55 - 0:57
    สำหรับน้ำ คุณจะคูณด้วย 2 เพราคุณมี
  • 0:57 - 0:58
    สารนั้น 2 โมล
  • 0:58 - 1:01
    แล้วคุณมีความร้อนการเกิด
    ของผลิตภัณฑ์ทั้งหมด
  • 1:01 - 1:02
    แล้วคุณลบความร้อน
  • 1:02 - 1:04
    การเกิดของสารตั้งต้นทั้งหมด
  • 1:04 - 1:07
    และแน่นอน ความร้อนการเกิดของ O2 คือ
  • 1:07 - 1:11
    อันนี้ไม่อยู่ในสมการ คุณจะได้ลบ 890.3
  • 1:11 - 1:12
    กิโลจูล
  • 1:12 - 1:15
    อันนี้บอกเราว่า นี่คือปฏิกิริยาคายความร้อน
  • 1:15 - 1:18
    ด้านนี้ของสมการมีพลังงานในนั้นน้อยกว่า
    -- คุณ
  • 1:18 - 1:20
    คิดถึงมันแบบนั้นได้ -- คือด้านนั้น
  • 1:20 - 1:22
    พลังงานบางส่วนต้องปล่อยออกไป
  • 1:22 - 1:25
    เราใส่มันตรงนี้ได้ บวก e แทนพลังงาน
  • 1:25 - 1:28
    ขอผมเขียน บวกพลังงานที่ปล่อยออกมา
  • 1:28 - 1:30
    นั่นคือสาเหตุที่มันคายความร้อน
  • 1:30 - 1:32
    แต่คำถามของเราคือว่า มันเกิดขึ้นเองได้ไหม?
  • 1:32 - 1:34
    เพื่อหาคำตอบว่ามันเกิดขึ้นเองได้ไหม เราต้อง
  • 1:34 - 1:36
    หาว่าเดลต้า S เป็นเท่าใด
  • 1:36 - 1:39
  • 1:39 - 1:43
    เพื่อช่วยหาว่าเดลต้า S เป็นเท่าใด ผมได้
  • 1:43 - 1:46
    ดูเอนโทรปีโมลาร์มาตรฐาน
  • 1:46 - 1:48
    ของโมเลกุลแต่ละตัวแล้ว
  • 1:48 - 1:50
    ตัวอย่างเช่น ค่ามาตรฐาน -- ผมจะเขียน
  • 1:50 - 1:52
    อีกสีนะ
  • 1:52 - 2:01
  • 2:01 - 2:05
    มาตรฐาน --
    คุณจะใส่เครื่องหมายนอตเล็กๆ ตรงนั้น --
  • 2:05 - 2:08
    เอนโทรปีโมลาร์มาตรฐาน --
    เวลาเราบอกว่ามาตรฐาน
  • 2:08 - 2:11
    มันคือ 298 องศาเคลวิน
  • 2:11 - 2:13
    ที่จริง ผมไม่ควรเรียกว่าองศาเคลวิน
  • 2:13 - 2:16
    มันอยู่ที่ 298 เคลวิน คุณจะไม่ใช้คำว่าองศา
  • 2:16 - 2:17
    เวลาคุณพูดถึงเคลวิน
  • 2:17 - 2:21
    มันอยู่ที่ 298 เคลวิน
    ซึ่งเท่ากับ 25 องศาเซลเซียส
  • 2:21 - 2:22
    มันอยู่ที่อุณหภูมิห้อง
  • 2:22 - 2:25
    นั่นคือสาเหตุที่มันนับว่าเป็นอุณหภูมิมาตรฐาน
  • 2:25 - 2:30
    เอนโทรปีมาตรฐานของเมธเธนที่อุณหภูมิห้อง
  • 2:30 - 2:31
    เท่ากับจำนวนนี่ตรงนี้
  • 2:31 - 2:38
    186 จูลต่อเคลวินโมล
  • 2:38 - 2:42
    ถ้าผมมีเมธเธน 1 โมล ผมมีเอนโทรปี 186
  • 2:42 - 2:44
    จูลต่อเคลวิน
  • 2:44 - 2:46
    ถ้าผมมี 2 โมล ผมก็คูณด้วย 2
  • 2:46 - 2:49
    ถ้าผมมี 3 โมล ผมก็คูณด้วย 3
  • 2:49 - 2:55
    การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปีของปฏิกิริยานี้
  • 2:55 - 2:59
    คือเอนโทรปีมาตรฐานรวมของผลิตภัณฑ์ลบ
  • 2:59 - 3:01
    เอนโทรปีมาตรฐานรวมของสารตั้งต้น
  • 3:01 - 3:02
    อย่างที่เราทำไปกับเอนธาลปี
  • 3:02 - 3:12
    มันจะเท่ากับ 213.6 บวก -- ผมบอกว่าน้ำ
  • 3:12 - 3:12
    2 โมลตรงนี้
  • 3:12 - 3:18
    มันคือบวก 2 คูณ -- ลองเขียน 70 ตรงนั้น
  • 3:18 - 3:20
    69.9 เกือบ 70
  • 3:20 - 3:25
    บวก 2 คูณ 70 แล้วผมอยากลบ
  • 3:25 - 3:29
    เอนโทรปีของสารตั้งต้น
    หรือด้านนี้ของปฏิกิริยา
  • 3:29 - 3:43
    เอนโทรปีของ CH4 จำนวน 1 โมล
    เท่ากับ 186 บวก 2 คูณ 205
  • 3:43 - 3:45
    แค่กะด้วยสายตา ก็รู้ว่าเลขนี้ใกล้กับ
  • 3:45 - 3:48
    เลขนี้ แต่เลขนี้มากกว่าเลขนี้มาก
  • 3:48 - 3:51
    น้ำของเหลวมีค่าต่ำ -- นี่คือ
  • 3:51 - 3:52
    เอนโทรปีของน้ำของเหลว
  • 3:52 - 3:55
    มันมีเอนโทรปีต่ำกว่าแก๊สออกซิเจนมาก
  • 3:55 - 3:56
    และมันก็สมเหตุสมผล
  • 3:56 - 4:00
    เพราะเมื่อของเหลวเกิดขึ้น
    มันจะมีจำนวนสถานะน้อยกว่า
  • 4:00 - 4:03
    มันจะตกไปอยู่ข้างล่างภาชนะ แทนที่จะ
  • 4:03 - 4:05
    มีรูปร่างตามห้องและขยายตัว
  • 4:05 - 4:07
    แก๊สโดยธรรมชาติจะมีเอนโทรปี
  • 4:07 - 4:08
    สูงกว่าของเหลว
  • 4:08 - 4:12
    แค่กะด้วยสายตา เราก็เห็นว่าผลิตภัณฑ์
  • 4:12 - 4:14
    จะมีเอนโทรปีต่ำกว่าสารตั้งต้น
  • 4:14 - 4:15
    ค่านี้จึงน่าจะเป็นจำนวนลบ
  • 4:15 - 4:19
    แต่ลองยืนยันดู
  • 4:19 - 4:31
    ผมมี 200, 213.6 บวก -- บวก 140 ใช่ไหม?
  • 4:31 - 4:31
    2 คูณ 70
  • 4:31 - 4:36
    บวก 140 เท่ากับ 353.6
  • 4:36 - 4:40
    นี่คือ 353.6
  • 4:40 - 4:48
    แล้วจากนั้น ผมจะลบ -- 186 บวก
  • 4:48 - 4:55
    2 คูณ 205 เท่ากับ 596
  • 4:55 - 4:59
    ลบ 596 แล้วมันเท่ากับอะไร?
  • 4:59 - 5:07
    เราใส่ลบ 596 แล้วบวก 353.6
  • 5:07 - 5:11
    ได้ลบ 242.4
  • 5:11 - 5:18
    ค่านี้จึงเท่ากับลบ 242.4 จูลต่อเคลวิน
    ได้เดลต้า
  • 5:18 - 5:22
    S เป็นลบ
  • 5:22 - 5:24
    เราเสียเอนโทรปีไปเท่านั้น
  • 5:24 - 5:26
    และหน่วยพวกนั้นอาจดูไม่น่าเข้าใจเท่าไหร่ตอนนี้
  • 5:26 - 5:29
    แต่คุณรู้ว่าพวกมันเป็นหน่วยตามใจ
  • 5:29 - 5:31
    คุณอาจบอกว่า เฮ้ มันมีระเบียบมากขึ้นนี่
  • 5:31 - 5:34
    มันดูสมเหตุสมผล เพราะเรามีแก๊สมากมาย
  • 5:34 - 5:36
    เรามีโมเลกุลแยกกัน 3 ตัว คือ 1 ตัวตรงนี้แล้วก็
  • 5:36 - 5:38
    ออกซิเจน 2 โมเลกุล
  • 5:38 - 5:41
    แล้วเราก็มีโมเลกุล 3 ตัวเหมือนเดิม แต่ตอนนี้
  • 5:41 - 5:42
    น้ำเป็นของเหลว
  • 5:42 - 5:46
    มันจึงสมเหตุสมผลที่เราเสียเอนโทรปีไป
  • 5:46 - 5:47
    ของเหลวมีจำนวนสถานะ
  • 5:47 - 5:49
    น้อยกว่าเป็นพิเศษ
  • 5:49 - 5:52
    แต่ลองหากันว่าปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นเองได้ไหม
  • 5:52 - 5:57
    เดลต้า G เท่ากับเดลต้า H
  • 5:57 - 6:01
    เราปล่อยพลังงาาน มันจึงเป็นลบ 890
  • 6:01 - 6:03
    ผมจะตัดทศนิยมทิ้งนะ
  • 6:03 - 6:04
    เราไม่ต้องละเอียดขนาดนั้น
  • 6:04 - 6:06
    ลบอุณหภูมิของเรา
  • 6:06 - 6:09
    เราสมมุติว่าเราอยู่ที่อุณหภูมิห้อง หรือ 298
  • 6:09 - 6:10
    องศาเคลวิน
  • 6:10 - 6:13
    มันคือ 2 -- ผมควรพูดว่า 298 เคลวิน
  • 6:13 - 6:15
    ผมควรเลิกนิสัยการพูดว่า
  • 6:15 - 6:16
    องศา เวลาพูดว่าเคลวิน
  • 6:16 - 6:23
    ซึ่งก็คือ 25 องศาเซลเซียส
    คูณการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปี
  • 6:23 - 6:25
    ทีนี้ ค่านี้จะเป็นลบ
  • 6:25 - 6:28
    ทีนี้คุณอาจบอกว่า โอเค ลบ 242
    คุณอาจจะอยาก
  • 6:28 - 6:29
    ใส่ตรงนั้น
  • 6:29 - 6:30
    แต่คุณต้องระวังมากๆๆ
  • 6:30 - 6:33
    ค่านี่ตรงนี้เป็นกิโลจูล
  • 6:33 - 6:35
    ค่านี่ตรงนี้เป็นจูล
  • 6:35 - 6:38
    ถ้าเราเขียนทุกอย่างเป็นกิโลจูล
  • 6:38 - 6:40
    เนื่องจากเราเขียนมันลงไปแล้ว
    ลองเขียนค่านี้เป็น
  • 6:40 - 6:40
    กิโลจูลกัน
  • 6:40 - 6:47
    มันก็คือ 0.242 กิโลจูลต่อเคลวิน
  • 6:47 - 6:52
  • 6:52 - 6:56
    ตอนนี้พลังงานเสรีกิบส์ของเราตรงนี้จะ
  • 6:56 - 7:01
    เป็นลบ 890 กิโลจูลลบ 290 -- ลบ
  • 7:01 - 7:03
    แล้วก็ลบ คุณจึงได้บวก
  • 7:03 - 7:06
    มันสมเหตุสมผล เทอมเอนโทรปีจะทำให้
  • 7:06 - 7:08
    พลังงานเสรีกิบส์เป็นบวกยิ่งขึ้น
  • 7:08 - 7:11
    ซึ่ง อย่างที่เรารู้
    เนื่องจากเราอยากได้ค่านี้น้อยกว่า
  • 7:11 - 7:14
    0 ค่านี้จะต้านการเกิดขึ้นเอง
  • 7:14 - 7:19
    ลองดูว่ามันเอาชนะเอนธาลปี
  • 7:19 - 7:20
    ธรรมชาติการคายความร้อนได้ไหม
  • 7:20 - 7:22
    ดูเหมือนว่าจะไม่ได้ เพราะคุณคูณ
  • 7:22 - 7:24
    เศษส่วนกับค่านี้ มันจะ
  • 7:24 - 7:25
    ได้ค่าน้อยกว่านั้น
  • 7:25 - 7:28
    ลองหากันดู
  • 7:28 - 7:32
    หารด้วย 1, 2, 3
  • 7:32 - 7:37
    นั่นคือการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปี คูณ 298
    นั่นคืออุณหภูมิของเรา
  • 7:37 - 7:40
    ได้ลบ 72
  • 7:40 - 7:44
    เทอมนี้จึงกลายเป็น -- เราใส่ลบตรงนั้น --
  • 7:44 - 7:47
    มันก็คือบวก 72.2
  • 7:47 - 7:50
    นี่คือเทอมเอนโทรปีที่อุณหภูมิมาตรฐาน
  • 7:50 - 7:51
    มันออกมาเป็นอย่างนั้น
  • 7:51 - 7:53
    และนี่คือเทอมเอนธาลปีของเรา
  • 7:53 - 7:56
    เราเห็นแล้วว่าเอนธาลปีเป็นลบ
  • 7:56 - 7:58
    มากกว่าเทอมบวกจากอุณหภูมิ
  • 7:58 - 8:00
    คูณการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปีของเรามาก
  • 8:00 - 8:05
    เทอมนี้จึงชนะ
  • 8:05 - 8:08
    ถึงแม้ว่าเราจะเสียเอนโทรปีในปฏิกิริยา
    แต่มันปล่อย
  • 8:08 - 8:11
    พลังงานมากจนมันยังเกิดขึ้นเองได้
  • 8:11 - 8:14
    ค่านี้น้อยกว่า 0 ชัดเจน ปฏิกิริยานี้จึงเป็น
  • 8:14 - 8:17
    ปฏิกิริยาที่เกิดเองได้
  • 8:17 - 8:20
    อย่างที่คุณเห็น โจทย์พลังงานเสรีกิบส์
    มันไม่ได้
  • 8:20 - 8:21
    ยากเกินไป
  • 8:21 - 8:24
    คุณแค่ต้องหาค่าเหล่านี้
  • 8:24 - 8:27
    เวลาหาค่าเหล่านี้ เขาจะให้มา
  • 8:27 - 8:30
    เดลต้า H แต่เรารู้ว่าแก้หาเดลต้า H
  • 8:30 - 8:32
    คุณแค่หาความร้อนการเกิดของ
  • 8:32 - 8:35
    ผลิตภัณฑ์ทั้งหมด
    ลบของสารตั้งต้น และคุณต้อง
  • 8:35 - 8:38
    ถ่วงน้ำหนักด้วยสัมประสิทธิ์
  • 8:38 - 8:40
    แล้ว เวลาหาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปี คุณก็
  • 8:40 - 8:41
    ทำเหมือนกัน
  • 8:41 - 8:44
    คุณต้องดูเอนโทรปีโมลาร์มาตรฐานของ
  • 8:44 - 8:47
    ผลิตภัณฑ์ถ่วงน้ำหนักด้วยสัมประสิทธิ์ลบ
  • 8:47 - 8:50
    สารตั้งต้น แล้วแทนค่าลงไปตรงนี้
  • 8:50 - 8:52
    คุณจะได้พลังงานเสรีกิบส์
  • 8:52 - 8:55
    ในกรณีนี้ มันเป็นลบ
  • 8:55 - 8:57
    ทีนี้ คุณนึกภาพกรณีที่เราอยู่ที่
  • 8:57 - 8:58
    อุณหภูมิสูงขึ้นมากได้
  • 8:58 - 9:01
    อย่างเช่นผิวดวงอาทิตย์หรืออะไรพวกนั้น
    ทันใดนั้น
  • 9:01 - 9:06
    แทนที่จะเป็น 298 ตรงนี้
    ถ้าคุณมีค่าเป็น 2,000 หรือ
  • 9:06 - 9:08
    4,000 ตรงนั้น
  • 9:08 - 9:11
    ทันใดนั้น มันจะน่าสนใจ
  • 9:11 - 9:15
    ถ้าคุณจินตนาการ ถ้าคุณมีอุณหภูมิ 4,000
  • 9:15 - 9:18
    เคลวินตรงนั้น ทันใดนั้น เทอมเอนโทรปี
  • 9:18 - 9:20
    การสูญเอนโทรปี จะสำคัญมากกว่า
  • 9:20 - 9:22
    แล้วเทอมนี้ เทอมบวกนี้จะ
  • 9:22 - 9:26
    เอาชนะเทอมนี้ และปฏิกิริยาจะไม่เกิดเอง
  • 9:26 - 9:28
    ณ อุณหภูมิที่สูงมากๆๆๆๆๆ
  • 9:28 - 9:29
    วิธีคิดอีกอย่างคือว่า
  • 9:29 - 9:35
    ปฏิกิริยาจะสร้างความร้อนที่ปล่อยความร้อน
    -- ความร้อน
  • 9:35 - 9:37
    ที่ถูกปล่อยไม่สำคัญนักเมื่อมันมี
  • 9:37 - 9:40
    ความร้อนหรือพลังงานจลน์
    มหาศาลในสิ่งแวดล้อม
  • 9:40 - 9:43
    ถ้าอุณหภูมิสูงพอ ปฏิกิริยานี้จะ
  • 9:43 - 9:46
    ไม่เกิดขึ้นเอง เพราะเทอมเอนโทรปี
  • 9:46 - 9:47
    จะเอาชนะได้
  • 9:47 - 9:49
    เอาล่ะ ผมอยากคำนวณอย่างนี้ คุณจะได้
  • 9:49 - 9:51
    เห็นว่าไม่มีอะไรเป็นนามธรรม
  • 9:51 - 9:54
    คุณหาค่าได้ทุกอย่างในเว็บ แล้วค่อยหา
  • 9:54 - 9:56
    ว่าปฏิกิริยาเกิดขึ้นเองได้หรือไม่
  • 9:56 - 9:57
Title:
Gibbs Free Energy Example
Description:

more » « less
Video Language:
English
Team:
Khan Academy
Duration:
09:57

Thai subtitles

Revisions