< Return to Video

EBITDA

  • 0:00 - 0:03
    ในวิดีโอแล้ว ๆ มา เราเห็นแล้วว่าการดู
  • 0:03 - 0:07
    แค่ market capitalization นั่นทำให้สับสนได้
  • 0:07 - 0:09
    เมื่อคุณดูบริษัทที่มี leverage หน่อย
  • 0:09 - 0:11
    หรือบริษัทที่มีหนี้หน่อย
  • 0:11 - 0:15
    ตัวอย่างเช่น หากนั่นคือสินทรัพย์ของบริษัท และ
  • 0:15 - 0:18
    สมมุติว่าเขามีหนี้เท่านี้
  • 0:18 - 0:20
    และนี่คือ equity ของเขา
  • 0:24 - 0:26
    จากนั้นสมมุติว่าบริษัทมีเงินสดส่วนเกินด้วย
  • 0:26 - 0:28
    เงินสดที่ไม่จำเป็นในการดำเนินธุรกิจ
  • 0:28 - 0:30
    ขอผมเขียนมันตรงนี้
  • 0:30 - 0:32
    นี่คือเงินสดส่วนเกิน
  • 0:32 - 0:35
    เงินสดบางส่วนจำเป็น และบางครั้งผู้คนไม่
  • 0:35 - 0:35
    แบ่งแยกมัน
  • 0:35 - 0:38
    เขาแค่มองมันเป็นเงินสดก้อนเดียว
  • 0:38 - 0:41
    แต่เราอยากแยกมูลค่าของ enterprise
  • 0:41 - 0:46
    จากมูลค่าตามตลาดของ equity หรือ
  • 0:46 - 0:47
    มูลค่าของหนี้
  • 0:47 - 0:48
    งั้นขอผมเขียนทุกอย่างลงไป
  • 0:48 - 0:50
    ดังนั้นตรงนี้ นี่คือมูลค่าของธุรกิจ
  • 0:50 - 0:51
    enterprise value
  • 0:54 - 0:58
    นี่คือหนี้
  • 0:58 - 0:59
    มันมีหนี้ด้วย
  • 0:59 - 1:01
    และนี่คือ equity
  • 1:04 - 1:07
    นี่อาจจะดูไปในทาง
  • 1:07 - 1:07
    เทคนิคหน่อย
  • 1:07 - 1:09
    แต่คุณไม่ต้องกังวลหาก
  • 1:09 - 1:10
    มันทำให้สับสน
  • 1:10 - 1:13
    ตอนผมเขียน enterprise ตรงนี้ มันหมายถึงมูลค่า
  • 1:13 - 1:14
    ของตัวธุรกิจเอง
  • 1:14 - 1:18
    มันเหมือนกันสินทรัพย์ที่ใช้ดำเนินการลัพธ์ หักจาก
  • 1:18 - 1:19
    หนี้สินที่ใช้ดำเนินธุรกิจ
  • 1:19 - 1:22
    มันก็แค่ว่า -- หากคุณกลับไปดูตัวอย่างสองอัน
  • 1:22 - 1:24
    ที่แล้วและซื้อร้านพิซซ่า -- คุณต้องจ่ายเงิน
  • 1:24 - 1:26
    เพื่อซื้อร้านพิซซ่าเท่าไหร่
  • 1:26 - 1:29
    และนั่นคือสิ่งที่เราพยายามหาตรงนี้
  • 1:29 - 1:31
    ตอนที่เราพูดถึง enterprise value
  • 1:31 - 1:34
    และเราเห็นในหลายวิดีโอที่ผ่านมาว่าคุณ
  • 1:34 - 1:35
    คำนวณมันได้อย่างไร แต่มันไม่แย่ที่จะทบทวนกันหน่อย
  • 1:35 - 1:38
    นี่เป็นการคำนวณที่สวนทางกับสัญชาตญาณหน่อย
  • 1:38 - 1:40
    ตอนที่คุณเห็นมันครั้งแรก ๆ มันจึงไม่ผิด
  • 1:40 - 1:42
    ที่จะลองดูอีกครั้ง
  • 1:42 - 1:44
    งั้นสิ่งแรกที่ต้องหาคือว่า คุณจะหา
  • 1:44 - 1:46
    มูลค่าตามตลาดของ equity ได้อย่างไร
  • 1:46 - 1:47
    มูลค่าตามบัญชีของ equity นั้นง่ายมาก
  • 1:47 - 1:50
    คุณก็แค่ไปหาบัญชีงบดุลของบริษัท แล้ว
  • 1:50 - 1:50
    เขาจะมีตัวเลขอยู่
  • 1:50 - 1:54
    เขาจะบอกว่า นี่คือสิ่งที่นักบัญชีของเราบอก
  • 1:54 - 1:56
    ว่ามูลค่าตามบัญชีของ equity เราเป็นเท่านี้
  • 1:56 - 1:58
    แต่มูลค่าตามตลาด จะหาได้จากว่าตลาด
  • 1:58 - 2:00
    ยินดีจ่ายเพื่อหุ้นหนึ่งหุ้นในราคาเท่าไหร่
  • 2:00 - 2:08
    ดังนั้นมูลค่าตามตลาดของ equity หรือ market cap จึงเท่ากับ
  • 2:08 - 2:12
    ราคาต่อหุ้นคูณจำนวนหุ้นนั่นเอง
  • 2:14 - 2:16
    และนั่นคือมูลค่าตามตลาดของ equity
  • 2:16 - 2:19
    และคุณคงเห็น แค่จากแผนภาพนี้ ว่า
  • 2:19 - 2:25
    enterprise value บวก เงินสดที่ไม่ได้ใช้ดำเนินการ หรือ
  • 2:25 - 2:29
    เงินลงทุน หรือเงินลงทุนที่มีสภาพคล่อง หรืออะไรก็ตาม
  • 2:29 - 2:29
    ที่คุณอยากเรียก
  • 2:29 - 2:38
    enterprise value บวกเงินสด เท่ากับ หนี้ บวก
  • 2:38 - 2:39
    เรียกมันว่า market cap แล้วกัน
  • 2:39 - 2:43
    เพราะเราอยากรู้ เมื่อเราดูราคา เราอยาก
  • 2:43 - 2:45
    หาว่า ตลาดบอกว่า
  • 2:45 - 2:47
    enterprise value ของบริษัทเป็นเท่าไหร่
  • 2:47 - 2:50
    มูลค่าตามตลาดของ enterprise เป็นเท่าไหร่
  • 2:50 - 2:52
    ดังนั้นหนี้บวก -- แทนที่จะเป็น equity -- ผมจะเขียน market
  • 2:52 - 2:54
    capitalization แทนเพราะมันคือสิ่งเดียวกัน
  • 2:54 - 2:58
    Market capitalization คือมูลค่าตามตลาดของ equity
  • 2:58 - 3:00
    บวก market cap
  • 3:00 - 3:02
    งั้นเรารู้ market cap
  • 3:02 - 3:04
    เราสามารถหาหนี้ได้จากบัญชีงบดุลของบริษัท
  • 3:04 - 3:06
    เราสามารถหาเงินสด
  • 3:06 - 3:09
    ดังนั้นเราแค่หักเงินสดจากทั้งสองข้าง แล้วเราจะได้
  • 3:09 - 3:20
    enterprise value เท่ากับ market cap
  • 3:20 - 3:25
    บวก หนี้ ลบ เงินสด
  • 3:25 - 3:28
    เราก็แค่เอาเงินสดไปทางขวา
  • 3:28 - 3:31
    ของสมการนี้
  • 3:31 - 3:35
    ตัวอย่างเช่น หากผมมีหุ้นที่ซื้อขายกันที่
  • 3:35 - 3:39
    สมมุติว่าราคาเท่ากับ $10
  • 3:39 - 3:45
    และสมมุตติว่ามันมี 1 ล้านหุ้น
  • 3:45 - 3:52
    และสมมุติว่าบริษัทมีหนี้อยู่ 50 ล้าเหรียญ
  • 3:52 - 3:59
    และสมมติอีกว่ามันมีเงินสดส่วนเกินอีก 5 ล้านเหรียญ
  • 3:59 - 4:01
    ถามว่า enterprise value เป็นเท่าไหร่
  • 4:01 - 4:03
    อืม อย่างแรกคุณต้องหาว่า market cap เป็นเท่าไหร่ก่อน
  • 4:03 - 4:07
    market cap ของมันเท่ากับ $10 ต่อหุ้นคูณหนึ่งล้านหุ้น
  • 4:07 - 4:09
    นั่นคือ 10 ล้านหุ้น
  • 4:09 - 4:11
    นั่นคือ market cap
  • 4:11 - 4:11
    คุณบวกหนี้เข้าไป
  • 4:11 - 4:14
    ดังนั้นบวก $50 ล้าน
  • 4:14 - 4:16
    และอีกที ผมบอกไปในวิดีโอที่แล้วว่า มัน
  • 4:16 - 4:17
    ไม่ตรงตามสัญชาตญาณ ตอนคุณหามูลค่าของ enterprise
  • 4:17 - 4:19
    ด้วยการบวกหนี้เข้าไป
  • 4:19 - 4:23
    และหลักคือว่าหากมีคนอยากซื้อ
  • 4:23 - 4:27
    บริษัทจากผู้ถือหุ้นและปลดหนี้
  • 4:27 - 4:30
    เขาต้องจ่ายหนี้ทั้งหมดให้คนพวกนี้
  • 4:30 - 4:32
    และต้องจ่ายเงินทั้งหมด
  • 4:32 - 4:33
    สำหรับมูลค่าตามตลาดด้วย
  • 4:33 - 4:36
    เขาจึงต้องจ่ายทั้งหนี้บวก equity
  • 4:36 - 4:38
    และเขาจะให้เงินสดบางส่วนคืนมา
  • 4:38 - 4:40
    นั่นคือสิ่งเหลือ ๆ ที่เขาซื้อติดมา
  • 4:40 - 4:42
    จึงได้เงินคืนมาด้วย
  • 4:42 - 4:44
    ดังนั้นคุณต้องจ่ายให้ผู้ถือหุ้น คุณต้องจ่าย
  • 4:44 - 4:47
    ให้ผู้ถือหนี้ แล้วคุณถึงได้เงินสดบางส่วนคืน
  • 4:47 - 4:52
    เพราะฉะนั้น enterprise value จะเป็นเท่าไหร่ $60 ล้านลบ 5
  • 4:52 - 4:54
    ได้ $55 ล้าน
  • 4:54 - 4:55
    ใช้ได้
  • 4:55 - 4:58
    นี่คือการทบทวนวิดีโอเรื่อง enterprise value
  • 4:58 - 5:01
    แต่คำถามคือว่า ตอนนี้ที่คุณหา enterprise
  • 5:01 - 5:02
    value ได้ คุณจะหาว่ามันเป็น enterprise value
  • 5:02 - 5:04
    ที่ถูกต้องได้อย่างไร
  • 5:04 - 5:06
    เมื่อคุณดู market capitalization คุณเปรียบเทียบ
  • 5:06 - 5:09
    มันกับ earnings
  • 5:09 - 5:12
    คือ price to earnings ratio
  • 5:12 - 5:13
    และคุณคิดมันต่อหุ้น
  • 5:13 - 5:16
    นี่คือราคาต่อหุ้น หารด้วย earnings ต่อหุ้น
  • 5:16 - 5:22
    อัตราส่วนนี้เทียบเท่ากับ market cap หารด้วย
  • 5:22 - 5:24
    รายได้ลัพธ์ของบริษัท
  • 5:28 - 5:30
    หากคุณคูณเศษและส่วนด้วย
  • 5:30 - 5:32
    จำนวนหุ้น คุณจะได้ market cap และรายได้ลัพธ์
  • 5:32 - 5:33
    นั่นคือ EPS
  • 5:33 - 5:36
    P/E คือราคาจริงต่อหุ้น หารด้วย
  • 5:36 - 5:37
    earnings ต่อหุ่น
  • 5:37 - 5:39
    และนั่นคือวิธีดูวิธีหนึ่ง
  • 5:39 - 5:40
    คุณสามารถเปรียบเทียบบริษัทสองแห่งได้
  • 5:40 - 5:43
    และเราเห็นว่ามันใช้ไม่ได้หากบริษัทมี
  • 5:43 - 5:43
    โครงสร้างทุนต่างกัน
  • 5:43 - 5:46
    แล้วเราจะเปรียบเทียบ enterprise value กับอะไร
  • 5:46 - 5:49
    ตรงนี้เราใช้ market cap กับรายได้ลัพธ์
  • 5:49 - 5:52
    enterprise value ควรใช้เปรียบเทียบกับอะไร
  • 5:52 - 5:55
    ตอนนี้ผมได้ตั้งข้อสังเกตในวิดีโอที่แล้วว่า อืม หากเรา
  • 5:55 - 5:58
    ดู enterprise ที่สุดแล้วเราควรดู
  • 5:58 - 6:01
    earnings ที่ออกมาจาก enterprise ด้วย
  • 6:01 - 6:04
    เราควรดู earnings ที่ออกมาจาก
  • 6:04 - 6:05
    สินทรัพย์ตรงนี้
  • 6:05 - 6:08
    และในวิดีโอแรก ๆ เกี่ยวกับบัญชีรายได้ ผม
  • 6:08 - 6:10
    บอกว่า -- ลองเขียนบัญชีงบดุลดู--
  • 6:10 - 6:12
    คุณมีรายรับ
  • 6:12 - 6:15
    รายรับคุณอาจเป็น 100
  • 6:15 - 6:19
    คุณมีค่าใช้จ่ายของสินค้าที่ขายไป
  • 6:19 - 6:23
    ค่าใช้จ่ายของสินค้าที่ขายไป สมมุติว่าเท่ากับ ลบ 50
  • 6:23 - 6:25
    และผมจะใช้วิธีเขียนอีกอย่างหนึ่ง
  • 6:25 - 6:28
    มีคนเสนอคนหนึ่งบอกว่าผมควรใช้
  • 6:28 - 6:28
    การเขียนแบบนี้
  • 6:28 - 6:30
    ซึ่งเป็นวิธีที่ตกลงกันโดยทั่วไปที่สุดใน
  • 6:30 - 6:32
    บรรดานักบัญชีและนักวิเคราะห์การเงิน
  • 6:32 - 6:34
    แทนที่จะเขียนเป็นลบ เขาจะเขียนมัน
  • 6:34 - 6:35
    ในวงเล็บ
  • 6:35 - 6:36
    นั่นหมายถึงเป็นลบ
  • 6:36 - 6:38
    ลบ 50
  • 6:38 - 6:45
    จากนั้นกำไรรวม (gross profit) จะเท่ากับ 50
  • 6:45 - 6:47
    จากนั้น ที่จริงผมอยากทำอะไร
  • 6:47 - 6:48
    ที่น่าสนใจหน่อย
  • 6:48 - 6:51
    สมมุติว่าค่าใช้จ่ายของสินค้าที่ขายนี่ มันไม่เกี่ยว
  • 6:51 - 6:52
    กับค่าเสื่อมราคาหรือค่าแบ่งชำระหนี้ (amortization)
  • 6:52 - 6:55
    ลองดูวิดีโอเก่า ๆ หากคำเหล่านี้ทำให้คุณงง
  • 6:55 - 6:58
    และการเพิ่มราคาและการผ่อนชำระหนี้ทั้งหมด
  • 6:58 - 6:59
    เกิดขึ้นในระดับองค์กร
  • 6:59 - 7:05
    ต่อไปสมมุติว่ามี SG&A นิดหน่อย
  • 7:05 - 7:07
    แต่นี่ไม่มีค่าเสื่อมราคาหรือค่าผ่อนชำระหนี้
  • 7:07 - 7:15
    สมมุติว่านี่คือค่าใช้จ่ายมูลค่า 10
  • 7:15 - 7:16
    สมมุติว่ามีค่าเสื่อมราคาและ
  • 7:16 - 7:19
    ค่าผ่อนชำระหนี้เช่นกัน
  • 7:19 - 7:21
    D&A
  • 7:21 - 7:23
    ในวิดีโอที่แล้วมา ผมรวมมันด้วยกัน
  • 7:23 - 7:24
    และนั่นน่าจะเป็นเช่นนั้น
  • 7:24 - 7:27
    ในบัญชีรายได้ส่วนใหญ่เขาจะไม่แยก
  • 7:27 - 7:28
    ค่าเสื่อมราคากับค่าผ่อนชำระหนี้จากกัน
  • 7:28 - 7:29
    และคุณจะต้องดูบัญชีกระแสเงิน
  • 7:29 - 7:31
    เพื่อหาว่ามันคืออะไร
  • 7:31 - 7:33
    และผมจะทำมันในวิดีโอหน้า
  • 7:33 - 7:35
    แต่สมมุติว่าเราแยกมันออกมา
  • 7:35 - 7:36
    บางครั้งเขาก็ทำกัน
  • 7:36 - 7:39
    งั้นสมมุติว่ามีอีก 5
  • 7:39 - 7:42
    บางทีพวกนี้เป็นหน่วยพันเหรียญ
  • 7:42 - 7:45
    จากนั้นคุณจะเหลือกำไรดำเนินการ
  • 7:49 - 7:54
    ในกรณี จะเท่ากับ 50 ลบ 15 ได้เท่ากับ 35
  • 7:54 - 7:55
    แล้วคุณยังมีสิ่งต่าง ๆ ข้างล่างอีก
  • 7:55 - 7:58
    คุณมีดอกเบี้ย และผมจะทำมันแค่ -- คุณมี
  • 7:58 - 8:00
    รายได้แบบไม่ต้องดำเนินการ และดอกเบี้ย อะไรพวกนั้น
  • 8:00 - 8:01
    ขอผมทำมันออกมา
  • 8:01 - 8:08
    ดอกเบี้ย สมมุติว่ามันเท่ากับ 5,000 เช่นกัน หาก
  • 8:08 - 8:09
    นั่นคือสิ่งที่เราสน
  • 8:09 - 8:12
    จากนั้นคุณจะได้ค่า ก่อนภาษี
  • 8:12 - 8:14
    ผมไม่ได้ใส่รายได้แบบไม่ต้องดำเนินการ
  • 8:14 - 8:16
    สมมุติว่าเงินสดนี่ไม่ได้สร้างอะไรขึ้นมา
  • 8:16 - 8:20
    ดังนั้นรายได้ก่อนภาษีจะเท่ากับ 30,000 หากนั่นคือ
  • 8:20 - 8:21
    สิ่งที่เราทำอยู่
  • 8:21 - 8:22
    มันดูเลอะหน่อย
  • 8:22 - 8:23
    จากนั้นคุณก็มีภาษี
  • 8:23 - 8:25
    สมมุติว่ามันเท่ากับ 1/3
  • 8:25 - 8:27
    นั่นคือภาษีมูลค่า 10,000
  • 8:27 - 8:29
    จากนั้นคุณจะได้ earnings
  • 8:31 - 8:33
    30 ลบ 10 ได้ 20,000
  • 8:33 - 8:37
    อย่างที่ผมบอก ส่วนไหนของบัญชีรายได้
  • 8:37 - 8:40
    ที่ขึ้นอยู่กับส่วนนี้ตรงนี้เท่านั้น?
  • 8:45 - 8:47
    มีของนี่ที่เกี่ยวกับดอกเบี้ย นั่น
  • 8:47 - 8:49
    ขึ้นอยู่กับหนี้
  • 8:49 - 8:51
    และในที่สุดแล้ว ภาษีก็ยังขึ้นกับหนี้ด้วย
  • 8:51 - 8:53
    เพราะยิ่งคุณมีดอกเบี้ยเท่าไหร่ คุณ
  • 8:53 - 8:54
    ยิ่งลดหย่อนภาษีได้
  • 8:54 - 8:59
    และทั้งหมดข้างล่างนี้ขึ้นอยู่กับ
  • 8:59 - 9:01
    โครงสร้างทุนของคุณ
  • 9:01 - 9:04
    ดังนั้นหากคุณอยากดูว่า enterprise value ได้
  • 9:04 - 9:06
    สร้างอะไรขึ้นมา มันก็สร้างกำไรดำเนินการ
  • 9:10 - 9:13
    ดังนั้นผมจึงเสนอว่า อัตราส่วนที่ดี ถึงแม้มัน
  • 9:13 - 9:14
    จะไม่ตามสูตรเดิมเท่าไหร่
  • 9:14 - 9:16
    มันไม่ได้ไม่ตามแนวเดิมนัก แต่คุณอาจ
  • 9:16 - 9:18
    ไม่ค่อยได้ยินใครพูดเท่าไหร่
  • 9:18 - 9:22
    ผมบอกว่า คุณสามารใช้ EV เทียบกับกำไรดำเนินการ
  • 9:22 - 9:23
    เป็นตัววัดได้
  • 9:29 - 9:37
    ในหลายกรณีมันคือส่วนกลับของผลตอบแทน
  • 9:37 - 9:39
    จากสินทรัพย์ หากที่ผมนิยามในวิดีโอแรก
  • 9:39 - 9:42
    มันมีนิยามผลตอบแทนจากสินทรัพย์หลายแบบ
  • 9:42 - 9:44
    แต่ที่สุดแล้ว มันบอกว่า สำหรับทุกดอลลาร์ของ
  • 9:44 - 9:47
    กำไรดำเนินการ คุณต้องจ่ายเท่าไหร่ให้ enterprise
  • 9:47 - 9:49
    ซึ่งผมว่ามันเป็นตัววัดที่ดีทีเดียว
  • 9:49 - 9:52
    ตอนนี้ตัววัดตามแบบทั่วไปที่คุณเห็น
  • 9:52 - 9:55
    ตอนคนพูดถึง enterprise values นั้น
  • 9:55 - 9:56
    คือ enterprise value หาร EBITDA
  • 9:56 - 9:59
    และหากคุณได้งานเป็นนักวิเคราะห์ในบริษัท
  • 9:59 - 10:02
    นี่จะเป็นสิ่งที่คุณจะถูกคาด
  • 10:02 - 10:04
    หวังให้คำนวณให้บริษัท
  • 10:04 - 10:06
    และหวังว่าจะพูดถึงมันอย่างฉลาด
  • 10:06 - 10:10
    ดังนั้นคำถามแรก ก่อนที่พูดถึงมันอย่างฉลาด
  • 10:10 - 10:12
    คือว่า EBITDA คืออะไร
  • 10:12 - 10:18
    EBITDA คือ Earnings ก่อนดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคา
  • 10:18 - 10:20
    และค่าผ่อนชำระหนี้
  • 10:20 - 10:23
    ลองดูว่ามันเป็นเท่าไหร่ตรงนี้
  • 10:23 - 10:29
    มันคือรายได้ก่อนดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคา
  • 10:29 - 10:30
    และค่าผ่อนชำระหนี้
  • 10:30 - 10:32
    มันคือก่อนอะไรพวกนี้
  • 10:32 - 10:34
    ที่จริง ลองเปรียบเทียบมันกับ
  • 10:34 - 10:35
    สิ่งที่เราเคยทำมาก่อน
  • 10:35 - 10:36
    งั้นคุณมี EBITDA
  • 10:39 - 10:42
    แล้วก็มี EBIT
  • 10:42 - 10:46
    EBIT คือ Earnings ก่อนดอกเบี้ยและภาษี
  • 10:46 - 10:48
    งั้น EBIT ก็คือ earnings
  • 10:48 - 10:49
    คุณบวกภาษีและดอกเบี้ยกลับไป คุณจ
  • 10:49 - 10:51
    ได้กำไรดำเนินการ
  • 10:51 - 10:54
    และผมได้พูดถึงมันมาก่อนแล้ว แต่สิ่งที่แยก
  • 10:54 - 10:57
    กำไรดำเนินการกับ EBIT จากกันคือว่า EBIT
  • 10:57 - 10:59
    อาจรวมรายได้แบบไม่ต้องดำเนินการ ซึ่ง
  • 10:59 - 11:00
    ผมไม่ได้ใส่ในนี้
  • 11:00 - 11:04
    แต่หากเงินสดนี่สร้างกำไรที่
  • 11:04 - 11:06
    ไม่เกี่ยวกับการดำเนินกิจการ มัน
  • 11:06 - 11:07
    ก็นับอยู่ใน EBIT
  • 11:07 - 11:08
    แต่มันไม่ใช่กำไรดำเนินการ
  • 11:08 - 11:11
    แต่มันก็ใกล้เครียงหากเราพูดถึง
  • 11:11 - 11:13
    ตัวอย่างเช่น ธุรกิจที่ไม่ใช่ด้านการเงิน
  • 11:13 - 11:14
    ดังนั้นนี่คือ EBIT
  • 11:14 - 11:16
    และหากคุณอยากได้ EBITDA คุณก็แค่บวก
  • 11:16 - 11:19
    ค่าเสื่อมราคาและค่าผ่อนชำระหนี้กลับเข้าไป
  • 11:19 - 11:20
    ดังนั้น EBITDA จะเป็นตรงนี้
  • 11:24 - 11:27
    ดังนั้น EBIT เท่ากับ 35,000
  • 11:27 - 11:30
    หากคุณบวกมันกลับไป มันจะเท่ากับ 40,000
  • 11:30 - 11:33
    ดังนั้น EBITDA ในกรณีนี้เท่ากับ 40
  • 11:33 - 11:36
    และหากหน่วยผมคือ หลักพัน มันจะเท่ากับ 40,000
  • 11:36 - 11:39
    คำถามคือว่า ทำไมคนถึงสนใจ EBITDA
  • 11:39 - 11:43
    ทำไมถึงใช้ EBITDA แทนที่จะเป็นกำไรดำเนินการ
  • 11:43 - 11:46
    และตรรกะคือว่าค่าเสื่อมราคาและค่าผ่อนชำระหนี้
  • 11:46 - 11:48
    และเราพูดถึงมันในวิดีโอเรื่องค่าเสื่อมราคาและ
  • 11:48 - 11:51
    ค่าผ่อนชำระหนี้แล้วว่า มันเป็นค่าใช้จ่ายที่กระจายตัว
  • 11:51 - 11:54
    ซึ่งอันที่จริงไม่ใช่เงินสดที่ออกจากประตูในช่วงเวลานั้น
  • 11:54 - 11:56
    เราเห็นว่ามันคือค่าเสื่อมราคาและค่าผ่อนชำระหนี้
  • 11:56 - 12:01
    บางที อาจเป็น ผมซื้อของ $100 หรือ $100,000
  • 12:01 - 12:03
    เมื่อ 10 ปีที่แล้ว
  • 12:03 - 12:09
    และทุกปีผมคิดค่าเสื่อมราคา 1/20 ของราคาเต็ม
  • 12:09 - 12:11
    แต่เงินสดออกจากกระเป๋าไปเมื่อ 20 ปีที่แล้ว
  • 12:11 - 12:14
    ดังนั้นค่าเสื่อมราคาและค่าผ่อนชำระหนี้ในช่วงเวลานี้
  • 12:14 - 12:16
    จึงไม่จำเป็นต้องเป็นเงินที่ออกจากประตูตอนนี้
  • 12:16 - 12:17
    ที่จริง มันไม่ใช่เงินที่ออกจากประตู
  • 12:17 - 12:20
    เราจะพูดถึงในวิดีโอหน้าว่าคุณจะหาว่า
  • 12:20 - 12:22
    อะไรที่เงินสดที่ออกไปในช่วงเวลาหนึ่ง
  • 12:22 - 12:24
    ดังนั้นมันจึงถือว่าเป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่เงินสด
  • 12:27 - 12:31
    งั้นตอนที่คุณหา EBITDA ตอนคุณบวกภาษีกลับมา
  • 12:31 - 12:33
    คุณบวกดอกเบี้ยกลับมา และบวกค่าเสื่อมราคากับ
  • 12:33 - 12:34
    ค่าผ่อนชำระหนี้กลับมา
  • 12:34 - 12:38
    สิ่งที่เหลือที่สุดแล้ว คือเงินสดแท้ ๆ
  • 12:38 - 12:40
    ที่ enterprise สร้างออกมา
  • 12:44 - 12:46
    คนส่วนใหญ่สนใจมันเพราะนี่คือ
  • 12:46 - 12:48
    ตัวบ่งชี้ ศักยภาพของบริษัท
  • 12:48 - 12:50
    ในการทำสิ่งต่าง ๆ
  • 12:50 - 12:54
    เพื่อทำสิ่งต่าง ๆ เช่นการจ่ายดอกเบี้ย จ่ายภาษี หรือ
  • 12:54 - 12:56
    ลงทุนในธุรกิจด้วยตนเอง
  • 12:56 - 13:03
    หรืออีกวิธีคิดนึงคือว่า หากคุณดู EV ต่อ EBITDA
  • 13:03 - 13:06
    คุณกำลังบอกว่าทุกดอลลาร์ของเงินสดแท้ที่
  • 13:06 - 13:07
    บริษัทสร้างขึ้นมาได้
  • 13:07 - 13:10
    สมมุติว่าผมไม่ได้ลงทุนซ้ำในธุรกิจ
  • 13:10 - 13:12
    หรือซื้อเครื่องมือใหม่
  • 13:12 - 13:14
    หากมันเป็นแค่เงินดิบ ๆ ผมจะต้องจ่าย
  • 13:14 - 13:15
    เท่าไหร่ให้ enterprise
  • 13:15 - 13:17
    และกฏง่าย ๆ ทั่วไป เราจะทำอีกที
  • 13:17 - 13:17
    ในอนาคต
  • 13:17 - 13:21
    ผมว่าผมได้ใช้เวลาตามปกติหมดแล้ว
  • 13:21 - 13:26
    สำหรับธุรกิจที่นิ่งมาก ง่าย ๆ ไม่โตไม่หด
  • 13:26 - 13:30
    ห้าเท่าของ EBITDA ถือเป็นค่าที่ดี
  • 13:30 - 13:34
    แต่่สิ่งที่สำคัญคือว่า บริษัทอื่นในอุตสาหกรรมนั้น
  • 13:34 - 13:35
    ซื้อขายกันที่เท่าไหร่
  • 13:35 - 13:38
    และอัตราส่วนพวกนี้จะดีกว่าหาก
  • 13:38 - 13:40
    ใช้เป็นตัววัดมูลค่าเชิงเปรียบเทียบ
  • 13:40 - 13:42
    ในอนาคต ผมจะแสดงให้ดูว่าจะทำอย่างไรกับ
  • 13:42 - 13:46
    discounted cash flow หรือการวิเคราะห์ discounted free cash flow
  • 13:46 - 13:48
    หรือ dividend discount model หรืออะไรพวกนั้น คุณจะได้
  • 13:48 - 13:50
    หาว่ามูลค่าสัมบูรณ์เป็นเท่าไหร่
  • 13:50 - 13:53
    แต่ตอนคุณดูที่ตลาดสาธารณะ ตอน
  • 13:53 - 13:55
    คุณเลือกซื้ออะไรบางอย่าง โดยนัยแล้วคุณกำลัง
  • 13:55 - 13:57
    เลือกไม่ซื้ออย่างอื่นไปในตัว
  • 13:57 - 13:59
    เมื่อคุณเลือกขายอะไรสักอย่าง คุณก็กำลัง
  • 13:59 - 14:01
    เลือกไม่ขายอย่างอื่นเช่นกัน
  • 14:01 - 14:04
    ดังนั้นมูลค่าเปรียบเทียบจะเริ่มสำคัญมากขึ้น
  • 14:04 - 14:07
    เอาล่ะ หวังว่าคุณจะเห็นว่ามีประโยชน์นะ
Title:
EBITDA
Description:

more » « less
Video Language:
English
Team:
Khan Academy
Duration:
14:07
Amara Bot edited Thai subtitles for EBITDA

Thai subtitles

Revisions