< Return to Video

Linear Equations in Slope Intercept Form

  • 0:00 - 0:00
    -
  • 0:00 - 0:04
    ในวิดีโอนี้ ผมจะทำตัวอย่างหลาย ๆ อันในการหา
  • 0:04 - 0:07
    สมการของเส้นตรงในรูปความชัน-จุดตัดแกน
  • 0:07 - 0:10
    แค่ทวนนิดหน่อย, ว่ามันคือสมการของเส้นตรง
  • 0:10 - 0:17
    ในรูป y เท่ากับ mx บวก b โดย m คือความชัน
  • 0:17 - 0:21
    และ b คือค่าตัดแกน y
  • 0:21 - 0:25
    ลองทำโจทย์พวกนี้กันดู ตรงนี้เขา
  • 0:25 - 0:29
    บอกเราว่าเส้นตรงมีความชันเป็นลบ 5, งั้น m
  • 0:29 - 0:31
    เท่ากับลบ 5
  • 0:31 - 0:34
    และมันมีค่าตัดแกน y เป็น 6
  • 0:34 - 0:36
    งั้น b เท่ากับ 6
  • 0:36 - 0:38
    นี่ตรงไปตรงมาทีเดียว
  • 0:38 - 0:42
    สมการของเส้นตรงนี้คือ y เท่ากับ
  • 0:42 - 0:48
    ลบ 5x บวก 6
  • 0:48 - 0:50
    ไม่แย่มาก
  • 0:50 - 0:52
    ลองทำอันต่อไปตรงนี้
  • 0:52 - 0:54
    เส้นตรงมีความชันเป็นลบ 1 และมีจุด
  • 0:54 - 0:57
    4/5 ลูกน้ำ 0
  • 0:57 - 1:01
    เขาบอกความชันเรามา ความชันเป็นลบ 1
  • 1:01 - 1:05
    เราก็รู้ว่าความชันเป็น ลบ 1, แต่เราไม่รู้ชัด
  • 1:05 - 1:09
    ว่าค่าตัดแกน y อยู่ตรงไหนในที่นี่
  • 1:09 - 1:13
    เรารู้ว่าสมการนี้จะอยู่ในรูป y
  • 1:13 - 1:19
    เท่ากับ ความชันลบ 1x บวก b, เมื่อ b คือค่า
  • 1:19 - 1:20
    ตัดแกน y
  • 1:20 - 1:24
    ทีนี้เราสามารถใช้ข้อมูลพิกัดนี้
  • 1:24 - 1:26
    ความจริงทีว่่ามันมีจุดนี้อยู่ เราสามารถใช้
  • 1:26 - 1:29
    ข้อมูลนั้นแก้หา b ได้
  • 1:29 - 1:32
    ความจริงที่ว่าเส้นตรงมีจุดนี้ หมายความว่า
  • 1:32 - 1:38
    ค่า x เท่ากับ 4/5, y เท่ากับ 0 ต้อง
  • 1:38 - 1:38
    เป็นไปตามสมการนี้
  • 1:38 - 1:43
    ลองแทนค่าเหล่านั้นลงไป y เท่ากับ 0 เมื่อ x
  • 1:43 - 1:44
    เท่ากับ 4/5
  • 1:44 - 1:50
    แล้ว 0 เท่ากับลบ 1 คูณ 4/5 บวก b
  • 1:50 - 1:53
    ผมจะเลื่อนลงมาหน่อยนะ
  • 1:53 - 1:58
    ลองดู เราได้ 0 เท่ากับลบ 4/5 บวก b
  • 1:58 - 2:02
    เราก็บวก 4/5 ทั้งสองข้างของสมการได้
  • 2:02 - 2:04
    เราก็บวก 4/5 ตรงนี้
  • 2:04 - 2:07
    เราก็บวก 4/5 ข้างนี้ด้วยเช่นกัน
  • 2:07 - 2:10
    สาเหตุที่ผมทำเช่นนี้เพราะมันจะได้หักล้างกับเจ้านั่น
  • 2:10 - 2:12
    แล้วคุณก็ได้ b เท่ากับ 4/5
  • 2:12 - 2:16
    -
  • 2:16 - 2:19
    แล้วเราก็ได้สมการของเส้นตรงมา
  • 2:19 - 2:23
    y เท่ากับ ลบ 1 คูณ x, ซึ่งผมเขียนเป็นลบ
  • 2:23 - 2:32
    x, บวก b, ซึ่งเท่ากับ 4/5, แค่นั้น
  • 2:32 - 2:34
    แล้วเราก็มีอันนี้
  • 2:34 - 2:40
    เส้นตรงที่มีจุด 2 ลูกน้ำ 6 กับ 5 ลูกน้ำ 0
  • 2:40 - 2:43
    เขาไม่ได้บอกความชันหรือค่าตัดแกน y
  • 2:43 - 2:43
    โดยตรง
  • 2:43 - 2:45
    แต่เราสามารถหาทั้งสองค่ได้จาก
  • 2:45 - 2:46
    พิกัดเหล่านี้
  • 2:46 - 2:48
    สิ่งแรกที่เราทำได้คือหาความชัน
  • 2:48 - 2:54
    เราก็รู้ว่าความชัน m เท่ากับการเปลี่ยนแปลงของ y ส่วน
  • 2:54 - 2:58
    การเปลี่ยนแปลงของ x, ซึ่งเท่ากับ -- การเปลี่ยนแปลงของ y คืออะไร?
  • 2:58 - 2:59
    ลองเริ่มด้วยจ้านี่ตรงนี้
  • 2:59 - 3:01
    เราก็หา 6 ลบ 0
  • 3:01 - 3:04
    -
  • 3:04 - 3:05
    ขอผมทำแบบนี้นะ
  • 3:05 - 3:10
    นั่นก็คือ 6 -- ผมอยากใช้สีแยกประเภท -- ลบ 0
  • 3:10 - 3:14
    งั้น 6 ลบ 0, นั่นคือการเปลี่ยนแปลงของ y
  • 3:14 - 3:24
    การเปลี่ยนแปลงของ x เป็น 2 ลบ 2 ลบ 5
  • 3:24 - 3:26
    สาเหตุที่ผมใช้สีแบ่งประเภทเพราะผมอยากให้คุณเห็น
  • 3:26 - 3:31
    ว่าผมใช้ค่า y นี้เป็นเทอมแรกก่อน, ผมใช้ 6 บนนี้, แล้ว
  • 3:31 - 3:33
    ผมต้องใช้ x เทอมนี้เป็นตัวแรกเช่นกัน
  • 3:33 - 3:37
    ผมอยากให้คุณเห็นว่านี่คือพิกัด 2 ลูกน้ำ 6
  • 3:37 - 3:39
    นี่คือพิกัด 5 ลูกน้ำ 0
  • 3:39 - 3:42
    ผมไม่สามารถสลับที่ 2 กับ 5 ได้
  • 3:42 - 3:45
    ไม่อย่างงั้นผมจะได้คำตอบติดลบเพิ่ม
  • 3:45 - 3:46
    แล้วเราจะได้อะไร?
  • 3:46 - 3:51
    นี่เท่ากับ 6 ลบ 0 ได้ 6
  • 3:51 - 3:55
    2 ลบ 5 ได้ ลบ 3
  • 3:55 - 3:59
    นี่เลยเป็นลบ 6 ส่วน 3, ซึ่งก็เท่ากับ
  • 3:59 - 4:01
    ลบ 2
  • 4:01 - 4:02
    นั่นก็คือความชันเรา
  • 4:02 - 4:07
    ถึงตอนนี้เราก็รู้ว่าเส้นตรงนี้ต้องมี y เท่ากับ
  • 4:07 - 4:13
    ความชัน -- ผมจะใช้สีส้มนะ -- ลบ 2 คูณ x
  • 4:13 - 4:15
    บวกค่าตัดแกน y
  • 4:15 - 4:18
    ทีนี้เราก็สามารถทำแบบเดียวกับโจทย์ที่แล้วได้
  • 4:18 - 4:21
    เราสามารถใช้จุดใดจุดหนึ่งเพื่อแก้หา b ได้
  • 4:21 - 4:22
    เราใช้จุดไหนก็ได้
  • 4:22 - 4:26
    ทั้งคู่อยู่บนเส้นตรง ทั้งคู่เลยต้องเป็นไป
  • 4:26 - 4:27
    ตามสมการนี้
  • 4:27 - 4:30
    ผมจะใช้ 5 ลูกน้ำ 0 แล้วกันเพราะมันดี
  • 4:30 - 4:31
    เวลาแทน 0 ลงไป
  • 4:31 - 4:33
    เลขจะได้ง่ายน้อย
  • 4:33 - 4:35
    งั้นลองแทนค่า 5 ลูกน้ำ 0 ตรงนี้
  • 4:35 - 4:39
    เมื่อ y เท่ากับ 0 แล้ว x เท่ากับ 5
  • 4:39 - 4:44
    งั้น y เท่ากับ 0 เมื่อคุณมีลบ 2 คูณ 5, เมื่อ
  • 4:44 - 4:48
    x เท่ากับ 5 บวก b
  • 4:48 - 4:53
    คุณจะได้ 0 เท่ากับ -10 บวก b
  • 4:53 - 4:58
    หากคุณบวก 10 ทั้งสองข้างของสมการ, ลองบวก 10
  • 4:58 - 5:01
    ทั้งสองข้างดู, ทั้งสองจะตัดกัน
  • 5:01 - 5:04
    คุณจะได้ b เท่ากับ 10 บวก 0 หรือ 10
  • 5:04 - 5:06
    คุณก็ได้ b เท่ากับ 10
  • 5:06 - 5:08
    ตอนนี้เรารู้สมการของเส้นตรงแล้ว
  • 5:08 - 5:14
    สมการคือ y -- ขอผมใช้สีใหม่นะ -- y เท่ากับ
  • 5:14 - 5:22
    ลบ 2x บวก b บวก 10
  • 5:22 - 5:23
    เราก็จบแล้ว
  • 5:23 - 5:25
    ลองทำแบบนี้อีก
  • 5:25 - 5:28
    -
  • 5:28 - 5:31
    เอาล่ะ, เสนตรงมีจุด 3 ลูกน้ำ 5 กับ
  • 5:31 - 5:33
    ลบ 3 ลูกน้ำ 0
  • 5:33 - 5:36
    แบบเดียวกับข้อที่แล้ว, เราจะเริ่มต้นหา
  • 5:36 - 5:40
    ความชันก่อน โดยเราเรียกมันว่า m
  • 5:40 - 5:45
    มันก็เหมือนกับระยะขึ้นส่วนระยะนอน, ซึ่งก็
  • 5:45 - 5:48
    เหมือนกับการเปลี่ยนแปลงของ y ส่วนการเปลี่ยนแปลงของ x
  • 5:48 - 5:50
    หากคุณทำสำหรับการบ้าน, คุณไม่ต้อง
  • 5:50 - 5:51
    เขียนทั้งหมดนี่ก็ได้
  • 5:51 - 5:53
    ผมแค่อยากแน่ใจว่าคุณเข้าใจว่า
  • 5:53 - 5:55
    ทุกอย่างนั้นเหมือนกัน
  • 5:55 - 5:59
    แล้วการเปลี่ยนแปลงของ y ส่วนการเปลี่ยนแปลงของ x เป็นเท่าไหร่?
  • 5:59 - 6:02
    นี่จะเท่ากับ, ลองเริ่มที่ด้านนี้ก่อน แค่
  • 6:02 - 6:04
    ให้คุณเห็นว่าผมจะเลือกจุดไหนก็ได้
  • 6:04 - 6:14
    สมมุติว่าผมเลือก 0 ลบ 5 แบบนั้นแล้วกัน
  • 6:14 - 6:17
    ผมกำลังใช้พิกัดนี้ก่อน ผมมองมันเหมือน
  • 6:17 - 6:20
    จุดปลาย
  • 6:20 - 6:22
    จำไว้ว่าตอนผมเรียนนี่ครั้งแรก ผมมัก
  • 6:22 - 6:24
    ชอบให้ x เป็นตัวเศษ
  • 6:24 - 6:26
    ผิดนะ, คุณต้องใช้ y เป็นตัวเศษ
  • 6:26 - 6:28
    แล้วนั่นคือพิกัดตัวที่สอง
  • 6:28 - 6:38
    มันจะได้ ส่วน ลบ 3 ลบ 3
  • 6:38 - 6:41
    -
  • 6:41 - 6:44
    นี่คือพิกัด ลบ 3, 0
  • 6:44 - 6:46
    นี่ก็คือพิกัด 3, 5
  • 6:46 - 6:48
    เราลบมัน
  • 6:48 - 6:49
    แล้วเราได้อะไร?
  • 6:49 - 6:53
    นี่จะเท่ากับ -- ผมจะใช้สี
  • 6:53 - 6:56
    กลางๆ นะ -- นี่จะเท่ากับตัวเศษ
  • 6:56 - 7:02
    ได้ ลบ 5 ส่วนลบ 3 ลบ 3 ได้ ลบ 6
  • 7:02 - 7:04
    แล้วเครื่องหมายลบตัดกัน
  • 7:04 - 7:06
    คุณจะได้ 5/6
  • 7:06 - 7:09
    เราเลยรู้ว่าสมการจะอยู่ในรูป y
  • 7:09 - 7:16
    เท่ากับ 5/6 x บวก b
  • 7:16 - 7:19
    เราก็สามารถแทนพิกัดหนึ่งในนี้เพื่อหา b ได้
  • 7:19 - 7:19
    ลองทำดู
  • 7:19 - 7:21
    ผมมักเลือกอันที่มี 0 อยู่ด้วย
  • 7:21 - 7:33
    งั้น y เท่ากับ 0 เมื่อ x เป็นลบ 3 บวก b
  • 7:33 - 7:38
    ที่ผมทำก็แค่แทน ลบ 3 ให้ x, และ 0 ลงใน y
  • 7:38 - 7:41
    ผมรู้ว่าผมทำได้เพราะมันอยู่บนเส้นตรงนั้น
  • 7:41 - 7:44
    นี่เลยต้องเป็นไปตามสมการของเส้นตรง
  • 7:44 - 7:46
    ลองแก้หา b กัน
  • 7:46 - 7:50
    เราก็ได้ 0 เท่ากับ, เอาล่ะ ถ้าเราหารลบ 3
  • 7:50 - 7:52
    ด้วย 3 มันกลายเป็น 1
  • 7:52 - 7:55
    หากคุณหาร 6 ด้วย 3, มันกลายเป็น 2
  • 7:55 - 8:02
    แล้วมันก็กลายเป็น ลบ 5/2 บวก b
  • 8:02 - 8:05
    เราสามารถบวก 5/2 ทั้งสองข้างของสมการ
  • 8:05 - 8:09
    บวก 5/2, บวก 5/2
  • 8:09 - 8:11
    ผมอยากเปลี่ยนสัญลักษณ์ คุณจะได้
  • 8:11 - 8:13
    คุ้นกับสัญลักษณ์ทั้งสองแบบ
  • 8:13 - 8:18
    สมการก็กลายเป็น 5/2 เท่ากับ -- นั่นคือ 0 --
  • 8:18 - 8:20
    เท่ากับ b
  • 8:20 - 8:22
    b เท่ากับ 5/2
  • 8:22 - 8:32
    ดังนั้นสมการของเส้นตรงเราคือ y เท่ากับ 5/6 x บวก b
  • 8:32 - 8:38
    ซึ่งเราเพิ่งหาไปได้ 5/2, บวก 5/2
  • 8:38 - 8:39
    แล้วก็เสร็จ
  • 8:39 - 8:41
    ลองทำอีกอัน
  • 8:41 - 8:44
    ผมมีกราฟตรงนี้
  • 8:44 - 8:45
    ลองหาสมการของกราฟนี้กัน
  • 8:45 - 8:47
    นี่จริงอันนี้, คิดดู, มันง่ายกว่าหน่อย
  • 8:47 - 8:48
    ความชันคืออะไร?
  • 8:48 - 8:52
    ความชันคือการเปลี่ยนแปลงอขง y ส่วนการเปลี่ยนแปลงของ x
  • 8:52 - 8:53
    ลองดูกันว่าเกิดอะไรขึ้น
  • 8:53 - 8:58
    เมื่อเราเพิ่ม x, เมื่อเราเพิ่ม x ขึ้น 1 นั่นก็คือ
  • 8:58 - 8:59
    การเปลี่ยนแปลงของ x
  • 8:59 - 9:01
    การเปลี่ยนแปลงของ x เป็น 1
  • 9:01 - 9:04
    ผมตัดสินใจเปลี่ยน x ไป 1, เพิ่มขึ้น 1
  • 9:04 - 9:06
    แล้วการเปลี่ยนแปลงของ y เป็นเท่าไหร่?
  • 9:06 - 9:10
    ดูเหมือนว่า y เปลี่ยนไป 4 พอดี
  • 9:10 - 9:15
    มันดูเหมือนว่าเดลต้า y, การเปลี่ยนแปลงของ y เท่ากับ 4
  • 9:15 - 9:21
    โดยเดลต้า x เท่ากับ 1
  • 9:21 - 9:24
    ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงของ x, การเปลี่ยนแปลงของ y เป็น 4 เมื่อ
  • 9:24 - 9:26
    การเปลี่ยนแปลงของ x เป็น 1
  • 9:26 - 9:30
    ดังนั้นความชันเท่ากับ 4
  • 9:30 - 9:32
    แล้วค่าตัดแกน y เป็นเท่าไหร่?
  • 9:32 - 9:34
    ทีนี้เราก็แค่ดูที่กราฟ
  • 9:34 - 9:38
    มันดูเหมือนว่ามันตัดแกน y ที่ y เท่ากับ
  • 9:38 - 9:42
    ลบ 6, หรือที่จุด 0, ลบ 6
  • 9:42 - 9:44
    เราเลยรู้ว่า b เท่ากับลบ 6
  • 9:44 - 9:47
    -
  • 9:47 - 9:49
    เราเลยรู้สมการของเส้นตรงนี้
  • 9:49 - 9:57
    สมการของเส้นตรงคือ y เท่ากับความชันคูณ x
  • 9:57 - 9:59
    บวกค่าตัดแกน y
  • 9:59 - 10:02
    ผมควรเขียนมันลงไป
  • 10:02 - 10:08
    งั้นลบ 6, นั่นคือบวก ลบ 6 นั่นก็คือ
  • 10:08 - 10:10
    สมการของเส้นตรงเรา
  • 10:10 - 10:13
    ลองทำอีก
  • 10:13 - 10:17
    เขาบอกเราว่า f ของ 1.5 เท่ากับลบ 3, f ของ
  • 10:17 - 10:19
    ลบ 1 เป็น 2
  • 10:19 - 10:20
    นั่นคืออะไร?
  • 10:20 - 10:24
    ทีนี้, นี่ก็แค่วิธีสวยหรูเพื่อบอกคุณว่าจุด
  • 10:24 - 10:31
    ตอนที่ x เป็น 1.5, ตอนคุณใส่ 1.5 ลงไปในฟังก์ชัน
  • 10:31 - 10:33
    ฟังก์ชันจะให้ค่าเป็นลบ 3
  • 10:33 - 10:37
    มันเลยบอกเราว่าพิกัด 1.5, ลบ 3
  • 10:37 - 10:38
    อยู่บนเส้นตรง
  • 10:38 - 10:42
    แล้วนี่บอกเราว่าจุดเมื่อ x เป็นลบ 1, f
  • 10:42 - 10:44
    ของ x เท่ากับ 2
  • 10:44 - 10:48
    นี่ก็แค่วิธีสวยหรูบอกว่า ทั้งสอง
  • 10:48 - 10:51
    จุดนี้อยู่บนเส้นตรง ไม่มีอะไรใหม่
  • 10:51 - 10:54
    ผมว่าประเด็นของโจทย์นี้คือให้คุณคุ้นกับ
  • 10:54 - 10:57
    สัญลักษณ์ของฟังก์ชัน เพื่อไม่ให้คุณกลัว
  • 10:57 - 10:58
    หากคุณเห็นอะไรแบบนี้
  • 10:58 - 11:02
    หากคุณแทนค่าฟังก์ชันที่ 1.5, คุณได้ลบ 3
  • 11:02 - 11:04
    นั่นคือพิกัดหากคุณคิดว่า y
  • 11:04 - 11:06
    เท่ากับ f ของ x
  • 11:06 - 11:07
    นี่ก็คือพิกัด y
  • 11:07 - 11:09
    มันจะเท่ากับลบ 3 เมื่อ x เท่ากับ 1.5
  • 11:09 - 11:11
    เอาล่ะ ผมพูดไปหลายทีแล้ว
  • 11:11 - 11:13
    ลองหาความชันของเส้นตรงนี้ดีกว่า
  • 11:13 - 11:20
    ความชันซึ่งก็คือ การเปลี่ยนแปลงของ y ส่วนการเปลี่ยนแปลงของ x เท่ากับ
  • 11:20 - 11:27
    ลองเริ่มที่ 2 ลบเจ้านี่, ลบ 3 -- พวกนี้
  • 11:27 - 11:33
    คือค่า y -- ทั้งหมดนั่น ส่วน, ลบ 1
  • 11:33 - 11:40
    ลบเจ้านี่
  • 11:40 - 11:43
    ขอผมเขียนแบบนี้นะ ลบ 1 ลบ
  • 11:43 - 11:48
    เจ้านี่, ลบ 1.5
  • 11:48 - 11:50
    ผมทำใช้สีเพราะผมอยากให้คุณเห็นว่าลบ
  • 11:50 - 11:54
    1 กับ 2 ทั้งคู่มาจากนี่, นั่นคือสาเหตุที่ผมใช้
  • 11:54 - 11:58
    ทั้งคู่ก่อน ถ้าผมใช้พวกนี้ก่อน, ผมจะต้องใช้
  • 11:58 - 12:00
    ทั้ง x และ y ก่อน ถ้าผมใช้ 2 ก่อน, ผมก็
  • 12:00 - 12:02
    ต้องใช้ลบ 1 ก่อนด้วย นั่นคือสาเหตุที่ผมใช้
  • 12:02 - 12:03
    สีแบ่งประเภทไว้
  • 12:03 - 12:08
    นี่เลยเท่ากับ 2 ลบ ลบ 3
  • 12:08 - 12:10
    นั่นก็เหมือนกับ 2 บวก 3
  • 12:10 - 12:12
    ได้เป็น 5
  • 12:12 - 12:16
    -
  • 12:16 - 12:20
    ลบ 1 ลบ 1.5 ได้ ลบ 2.5
  • 12:20 - 12:24
    -
  • 12:24 - 12:28
    5 หารด้วย 2.5 เท่ากับ 2
  • 12:28 - 12:30
    ดังนั้นความชันของเส้นตรงนี้เป็นลบ 6
  • 12:30 - 12:32
    ที่จริงผมจะทำไว้ข้างๆ ให้คุณเห็นว่ามันไม่เกี่่ยว
  • 12:32 - 12:34
    ว่าผมจะใช้ลำดับยังไง
  • 12:34 - 12:36
    ถ้าผมใช้พิกัดนี่ก่อน, แล้วผมต้องใช้
  • 12:36 - 12:38
    พิกัดนี้ก่อน ลองทำอีกแบบนึง
  • 12:38 - 12:54
    ถ้าผมทำ แบบ ลบ 3 ลบ 2 ส่วน 1.5 ลบ
  • 12:54 - 13:00
    ลบ 1, นี่ควรได้ ลบ 2 ส่วน 1.5 ลบ
  • 13:00 - 13:01
    ลบ 1
  • 13:01 - 13:03
    -
  • 13:03 - 13:05
    นี่ควรให้คำตอบเดียวกัน
  • 13:05 - 13:06
    นี่เท่ากับอะไร?
  • 13:06 - 13:13
    ลบ 3 ลบ 2 ได้ ลบ 5 ส่วน 1.5 ลบ ลบ 1
  • 13:13 - 13:15
    นั่นคือ 1.5 บวก 1
  • 13:15 - 13:17
    นั่นคือส่วน 2.5
  • 13:17 - 13:19
    เหมือนเดิม, นี่เท่ากับลบ 2
  • 13:19 - 13:20
    ผมแค่อยากให้คุณเห็น, ว่าไม่่ว่าคุณจะเลือก
  • 13:20 - 13:23
    จุดไหนเป็นจุดเริ่มต้นหรือจุดปลายก็เหมือนกัน ตราบใด
  • 13:23 - 13:24
    ที่คุณใช้เหมือนเดิม
  • 13:24 - 13:27
    หากนี่เป็นค่า y ตั้งต้น, นี่ก็ต้องเป็นค่า x ตั้งต้น
  • 13:27 - 13:28
    หากนี่คือค่า y ปลาย, นี่ก็ต้องเป็น
  • 13:28 - 13:30
    ค่า x ปลายด้วย
  • 13:30 - 13:33
    แต่ช่างเถอะ, เรารู้ว่าความชันเป็นลบ 2
  • 13:33 - 13:37
    เรารู้ว่าสมการคือ y เท่ากับลบ 2x บวก
  • 13:37 - 13:39
    ค่าตัดแกน y
  • 13:39 - 13:41
    ลองใช้พิกัดหนึ่งในนี้
  • 13:41 - 13:43
    ผมใช้อันนี้เพราะมันไม่มีทศนิยมอยู่
  • 13:43 - 13:47
    เราก็รู้ว่า y เท่ากับ 2
  • 13:47 - 13:53
    งั้น y เท่ากับ 2 เมื่อ x เท่ากับลบ 1
  • 13:53 - 13:55
    -
  • 13:55 - 13:57
    แน่นอนว่าคุณมีบวก b ด้วย
  • 13:57 - 14:03
    2 ก็เท่ากับลบ 2 คูณลบ 1 ได้ 2 บวก b
  • 14:03 - 14:06
    ถ้าคุณลบ 2 จากทั้งสองข้างของสมการ, ลบ
  • 14:06 - 14:10
    2, ลบ 2, คุณก็ลบมันออกจากทั้งสองข้างของ
  • 14:10 - 14:12
    สมการนี้, คุณก็จะได้ 0 ทางซ้ายมือ
  • 14:12 - 14:15
    เท่ากับ b
  • 14:15 - 14:16
    งั้ัน b เท่ากับ 0
  • 14:16 - 14:18
    ดังนั้ัสมการของเส้นตรงนี้คือ y
  • 14:18 - 14:20
    เท่ากับลบ 2x
  • 14:20 - 14:22
    -
  • 14:22 - 14:24
    ที่จริงผมอยากเขียนมันในรูปของฟังก์ชัน,
  • 14:24 - 14:28
    มันจะได้ว่า f ของ x เท่ากับลบ 2x
  • 14:28 - 14:31
    ผมถือว่า y เท่ากับ f ของ x
  • 14:31 - 14:32
    แต่นี่ก็แค่สมการ
  • 14:32 - 14:34
    เขาไม่เคยพูดถึง y ตรงนี้
  • 14:34 - 14:38
    คุณเลยเขียนเป็น f ของ x เท่ากับลบ 2x ตรงนี้ดีกว่า
  • 14:38 - 14:40
    แต่ละพิกัดแทนพิกัด
  • 14:40 - 14:43
    ของ x กับ f ของ x
  • 14:43 - 14:47
    -
  • 14:47 - 14:50
    คุณก็มองนิยามของความชันเป็นการเปลี่ยนแปลง
  • 14:50 - 14:53
    ของ f ของ x ส่วนการเปลี่ยนแปลงของ x
  • 14:53 - 14:57
    พวกนี้คือวิธีการมองสิ่งเดียวกันหมด
  • 14:57 - 14:57
    -
Title:
Linear Equations in Slope Intercept Form
Description:

more » « less
Video Language:
English
Team:
Khan Academy
Duration:
14:58

Thai subtitles

Revisions