< Return to Video

Simplifying square roots

  • 0:00 - 0:00
  • 0:00 - 0:09
    เราจะแปลงค่า 5 คูณ
    รากที่สองของ 117 ได้ยังไง
  • 0:09 - 0:13
    117 ไม่ใช่กำลังสองสมบูรณ์
  • 0:13 - 0:15
    ลองแยกตัวประกอบของ
    จำนวนตัวเฉพาะดู
  • 0:15 - 0:20
    แล้วดูว่าตัวประกอบเหล่านี้มีเลข
    ซ้ำกันหรือเปล่า
  • 0:20 - 0:22
    เลขตัวนี้เป็นเลขคี่
  • 0:22 - 0:24
    ดังนั้นหารด้วยสองไม่ลงตัว
  • 0:24 - 0:26
    ดูสิว่าหารด้วย 3 ลงตัวหรือเปล่า
  • 0:26 - 0:27
    เราบวกตัวเลขแต่ละหลัก
  • 0:27 - 0:30
    วิธีนี้อธิบายในอีกวีดีโอ
  • 0:30 - 0:32
    ถ้าบวกตัวเลขทุกตัวก็จะได้ 9
  • 0:32 - 0:36
    9 หารด้วย 3 ลงตัว ดังนั้น 117
    หารด้วย 3 ลงตัวเช่นกัน
  • 0:36 - 0:38
    ลองคิดอีกแบบดู
  • 0:38 - 0:41
    ถ้า 117 หารด้วย 3 ก็คือ
  • 0:41 - 0:44
    3 มีค่าเยอะกว่า 1
  • 0:44 - 0:46
    แต่ว่าค่า 11 สามารถบรรจุ
    3 ได้ 3 ครั้ง
  • 0:46 - 0:48
    เพราะ 3 คูณ 3 ได้ 9
  • 0:48 - 0:50
    ลบจาก 11 เหลือเศษ 2
  • 0:50 - 0:53
    ดึงตัวเลข 7
  • 0:53 - 0:56
    27 บรรจุ 3 ได้ 9 ครั้ง
  • 0:56 - 0:58
    เพราะ 9 คูณ 3 ได้ 27
  • 0:58 - 0:59
    ลบกัน การหารก็สำเร็จ
  • 0:59 - 1:02
    3 หารลงตัวพอดี
  • 1:02 - 1:08
    117 แยกออกเป็น 3
    คูณ 39
  • 1:08 - 1:11
    39 แยกออกเป็น ...
  • 1:11 - 1:13
    39 หารด้วย 3 ลงตัว
  • 1:13 - 1:16
    เท่ากับ 3 คูณ 13
  • 1:16 - 1:18
    เลขที่เหลือคือจำนวนเฉพาะ
  • 1:18 - 1:24
    ทั้งหมดนี้มีค่าเท่ากับ
    5 คูณ
  • 1:24 - 1:35
    รากที่สองของ 3 คูณ 3 คูณ 13
  • 1:35 - 1:37
  • 1:37 - 1:40
    ก็จะเท่ากับ
  • 1:40 - 1:43
    จากคุณสมบัติของ
    เลขยกกำลัง
  • 1:43 - 1:55
    5 คูณรากที่สองของ 3 คูณ 3
    คูณรากที่สองของ 13
  • 1:55 - 1:57
    รากที่สอง 3 คูณ 3 เท่ากับ
    เท่าไหร่
  • 1:57 - 1:58
    มันเท่ากับรากที่สองของ 9
  • 1:58 - 2:00
    ก็คือรากที่สองของ 3 ยกกำลัง 2
  • 2:00 - 2:02
    ซึ่งก็จะมีค่าเท่ากับ 3
  • 2:02 - 2:05
    ค่าตรงนี้ก็จะแปลงเป็น 3
  • 2:05 - 2:10
    ทั้งหมดนี้ก็จะกลายเป็น
    5 คูณ 3 คูณรากที่สองของ 13
  • 2:10 - 2:15
    จำนวนตรงนี้คือ 15
  • 2:15 - 2:20
    คูณด้วยรากที่สองของ 13
  • 2:20 - 2:22
    เรามาลองทำอีกตัวอย่างหนึ่ง
  • 2:22 - 2:30
    เราจะแปลงค่า 3 คูณรากที่สอง
    ของ 26
  • 2:30 - 2:32
    ผมจะเขียน 26 ด้วยสีเหลือง
  • 2:32 - 2:35
    คล้ายๆกับที่เราทำเมื่อช่วงที่แล้ว
  • 2:35 - 2:37
    26 เป็นเลขคู่
  • 2:37 - 2:39
    มันก็จะหารด้วย 2 ลงตัว
  • 2:39 - 2:42
    มีค่าเท่ากับ 2 คูณ 13
  • 2:42 - 2:43
    ก็เสร็จแล้ว
  • 2:43 - 2:44
    13 เป็นจำนวนเฉพาะ
  • 2:44 - 2:46
    เราแยกตัวประกอบต่อไม่ได้
  • 2:46 - 2:48
    26 ไม่มีเลขกำลังสมบูรณ์
  • 2:48 - 2:50
    เราไม่อาจจะแยกตัวประกอบ
  • 2:50 - 2:51
    ที่เป็นผลคูณของตัวเลขกับ
  • 2:51 - 2:53
    เลขกำลังสมบูรณ์เหมือนช่วงที่แล้ว
  • 2:53 - 2:55
    117 คือ 13 คูณ 9
  • 2:55 - 2:59
    มันเป็นผลคูณของเลขกำลังสมบูรณ์
    กับ 13
  • 2:59 - 3:02
    แต่ว่า 26 แปลงค่าได้มากที่สุดเท่านี้เอง
  • 3:02 - 3:08
    ค่าที่ได้คือ 3 คูณ รากที่สองของ 26
  • 3:08 - 3:09
Title:
Simplifying square roots
Description:

more » « less
Video Language:
English
Team:
Khan Academy
Duration:
03:09

Thai subtitles

Revisions